ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

Siriraj Health science Education Excellence center

 

  SHEE Consult [คลินิกรับปรึกษาด้านการศึกษา] 
 
รับปรึกษาทั้งบุคลากรภายใน & บุคลากรภายนอก
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

ไม่มีค่าใช้จ่ายในการขอรับคำปรึกษา

 

ปรึกษาแบบ Face-to-face

 * เนื่องจากสถานการณ์ COVID-19 งดปรึกษารูปแบบ Face-to-face

ปรึกษาแบบ Online

 

เลือกหัวข้อที่ท่านต้องการ
   ทีมผู้ให้คำปรึกษา   
   แบบฟอร์มขอรับคำปรึกษา / ประเมิน   

 

รศ. ดร. นพ. เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์

  ชื่อ-สกุล  

รองศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์เชิดศักดิ์   ไอรมณีรัตน์

ภาควิชาศัลยศาสตร์ และ ผอ.ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการศึกษาวิทยาศาตร์สุขภาพ

 

  คุณวุฒิ  
 

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

สำเร็จการศึกษาจาก

Ph.D.

Educational Psychology

University of Illinois at Chicago, USA

M.H.P.E.

Health Professions Education

University of Illinois at Chicago, USA

อ.ว.

เวชศาสตร์ครอบครัว

แพทยสภา

ว.ว.

ศัลยศาสตร์

แพทยสภา

พ.บ.

 

มหาวิทยาลัยมหิดล

 

  งานวิจัยที่สนใจหรือมีความชำนาญการ  

1. Educational psychology

2. Medical education

3. Colorectal surgery

 

  ผลงานทางวิชาการ 

 

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ 

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่

ผลงาน

เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์, ฐิติศักดิ์ กิจทวีสิน, จิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร, จิตรวีณา มหาคีตะ. บทบาทของการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องสุนทรียสนทนาต่อการร่วมรู้สึกในแพทย์ประจำบ้าน. เวชสารแพทย์ทหารบก. 2562; 72:4.

2562

พัชดาพรรณ อุดมเพ็ชร, วิไลลักษณ์ ลังกา, ฐาศุกร์ จันประเสริฐ, เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์. กระบวนการหล่อหลอมจิตวิญญาณความเป็นแพทย์ : การประยุกต์ใช้แนวทางการศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยา. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา 2561; 10(2): p.83-102.

2561

Jitmungngan R, Iramaneerat C, Boonnuch W, Lohsiriwat D, Riansuwan W. Short-term outcomes and oncologic clearance of side-to-end anastomosis after low anterior resection in rectal cancer patients. J Med Assoc Thai 2017; 100 (Suppl 2): p.40-47.

2560

Iramaneerat C, Samranpanist O, Pasarat S, Anatakanchai M. Assessing the outcomes of team-based learning in surgery. J Med Assoc Thai 2017; 100 (Suppl 2): p.24 – 32.

2560

Iramaneerat C, Pasurawanich S. Resident duty hours and their impact on quality of life and residents’ happiness. J Med Assoc Thai 2017; 100 (Suppl 2): p.16 – 23.

2560

Iramaneerat C, Udompap P, Bangchang P, Thongtan S, Jaruthamsopon C. Usage and effects of a lecture recording system on study behaviors of preclinical medical students in Thailand. Focus on Health Professional Education 2016; 17(2): p.48 – 57.

2559

นุชจรีย์ หงษ์เหลี่ยม, เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์. แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ แห่งหนึ่งในประเทศไทย.  เวชบันทึกศิริราช 2559; 9(3): p.131-138.

2559

Duangchan C, Toskulkao T, Danaidutsadeekul S, Iramaneerat C. Effect of gum chewing on bowel motility in patients with colorectal cancer after open colectomy: A randomized controlled trial. Siriraj Medical Journal 2016; 68 (4): p.135 – 141.

2559

ชนุตพร รัตนมงคล, ศิริอร สินธุ, ทิพา ต่อสกุลแก้ว, เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในผู้ป่วยมะเร็งชนิดปฐมภูมิของกระเพาะอาหาร ตับ ทางเดินน้ำดี ลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง. วารสารสภาการพยาบาล 2559; 31(3) : p.97-109.

2559

Iramaneerat C, Noppakunsomboon N. The patient safety attitudes among the operating room personnel. Siriraj Medical Journal 2016; 68(4): p.203-208.

2559

 

บทความทางวิชาการ 

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่

ผลงาน

Lertchaisataporn K, Iramaneerat C, Pongprasobchai S. editors. Training Physicians to Deliver Bad News Using Peer Role Play Compared to Standardized Patients. The 19th Thai Medical Education Conference; 2018 December 19-21; Mae Fah Luang University, Chiang Rai, Thailand: 2018.

2561

Thitisagulwong S, Iramaneerat C, Lertbannapong T. editors. Test-enhanced Case-Based Learning: A Randomized Trial. The 19th Thai Medical Education Conference; 2018 December 19-21; Mae Fah Luang University, Chiang Rai, Thailand: 2018.

2561

Iramaneerat C. Team-based learning in surgical education. In Akaraviputh T, Chinsakchai K, Chinsawangwatanakul V. Cutting edge in surgery II: The 100th anniversary surgical forum. Bangkok: Bangkok Medical Press; 2017. p.74-80.

2560

ชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์. รายงานการประชุมวิชาการ การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษา. เวชบันทึกศิริราช 2559; 9(1): p.24-29.

2559

รศ. พญ.กษณา รักษมณี

  ชื่อ-สกุล  

รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงกษณา รักษมณี

ภาควิชาวิสัญญีวิทยา

 

  คุณวุฒิ  

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

สำเร็จการศึกษาจาก

M.H.P.E

Health Professions Education

Maastricht University, The Netherlands

ว.ว.

วิสัญญีวิทยา

มหาวิทยาลัยมหิดล 

พ.บ.

-

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

  งานวิจัยที่สนใจหรือมีความชำนาญการ  

1. Approaches to teaching and learning

2. Curriculum redesign

 

 

 
  ผลงานทางวิชาการ 

 

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ 

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่ผลงาน

Raksamani K, Stalmeijer RE. How postgraduate trainees from different health professions experience the learning climate within an operating theater: a mixed-methods study. BMC medical education. 2019;19(1):221.

2562

Raksamani K, Atisook R, Samerchua A, Manomayangkul K, Aroonpruksakul N. Predicting Uncuffed Endotracheal Tube Size in Anesthetized Children by Ultrasonography: A Randomized Controlled Trial. J Med Assoc Thai. 2018;101(9):117-24.

2561

Jirativanont T, Raksamani K, Aroonpruksakul N, Apidechakul P, Suraseranivongse S. Validity evidence of non-technical skills assessment instruments in simulated anaesthesia crisis management. Anaesthesia and intensive care. 2017 Jul;45(4):469-75

2560

Raksamani K, Sirivanasandha B, Waitayawinyu P, Nimmannit A. ResidentsSmartphone use During The Conduct of Anesthesia: The Incidence and Impact on Anesthesia-Related Complications. Journal of the Medical Association of Thailand. 2017, 100(7), 219-225.

2560

 

บทความทางวิชาการ

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่ผลงาน

Hokierti C, Raksamani K, Lertbannapong T. editors. Barriers And Facilitating Factors to Pass National License Examinations: Suggestions from International Medical Graduates. The 20th Thai Medical Education Conference; 2019 December 11-13; Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University, Thailand: 2019.

2562

Hortrakul P, Mandee S, Raksamani K. editors. Structured Reflective Writing to Increase Confidence Levels in Emergency Obstetric Anesthesia of Nurse Anesthetist Students. The 19th Thai Medical Education Conference; 2018 December 19-21; Mae Fah Luang University, Chiang Rai, Thailand: 2018.

2561

Sutdet P, Raksamani K, Lertbannapong T. editors. Self-perception of Practical Skills among Prosthetic and Orthotic Students ahead of Graduation. Proceeding of Graduate Research Forum 2019; 2019 May 16th and 23rd; Post-Graduate Education Division, Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University: 2019.

 

2562

Worawat A, Lertbannapong T, Raksamani K. editors. Medical Students’ Attitudes Toward Rural Practice: Effect of Rural Background and Rural Clinical School Placement. Proceeding of Graduate Research Forum 2019; 2019 May 16th and 23rd; Post-Graduate Education Division, Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University: 2019.

2562

Phoson P, Raksamani K, Lertbannapong T. editors. Relationship among self-directed learning readiness, achievement motivation and academic achievement of nurse anesthetist students. Proceeding of Graduate Research Forum 2019; 2019 May 16th; Post-Graduate Education Division, Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University: 2019.

2562

 

หนังสือ

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่ผลงาน

กษณา รักษมณี, ธัชวรรณ จิระติวานนท์, บรรณาธิการ. Non-technical skills สำหรับบุคลากรทางการแพทย์. กรุงเทพฯ: บริษัทพีเอ ลีฟวิ่ง จำกัด; 2562. [ISBN 9786164432512]

2562

ผศ. ดร.ทัศนียา รัตนฤาทัย นพรัตน์แจ่มจำรัส

  ชื่อ-สกุล   

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทัศนียา รัตนฤาทัย นพรัตน์แจ่มจำรัส

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ฝ่ายการศึกษา

 

  คุณวุฒิ  

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

สำเร็จการศึกษาจาก

สถาบัน

ปร.ด.

วิทยาศาสตร์ศึกษา

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ป.บัณฑิต

วิชาชีพครูวิทยาศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วท.บ.

ชีววิทยา (จุลชีววิทยา)

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 

 งานวิจัยที่สนใจหรือมีความชำนาญการ   

1.Simulating Models for teaching and learning in Medical Education and in Science Teaching and Learning Biology and Environment for Average and Disadvantaged Students

2.Science and Technology Teacher Professional Development

3.Development of Teaching and Learning Activities, Instructional Materials, and Assessment in Science, Technology, and Engineering

4.Science and Technology for Multicultural Students

5.Active Learning

6.Curriculum Development

7.Educational Quality Assurance both EQA and IQA: EdPEx and AUN-QA

 

  ผลงานทางวิชาการ  

 

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ 

 

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่ผลงาน

Hlaing, P., Nopparatjamjomras, T., & Nopparatjamjomras, S. (2018). Digital technology for preventative health care in Myanmar. Digital Medicine, 4(3), 117-121. doi:10.4103/digm. digm_25_18

2561

Nopparatjamjomras, S., Kalaya, T., & Nopparatjamjomras, T. R. (2018). 7th Graders’ understanding of a fire caused by an electrical short circuit. Journal of Physics: Conference Series, 1144, 012123. doi:10.1088/1742-6596/1144/1/012123

2561

Khaing, S. W., Nopparatjamjomras, S., Nopparatjamjomras, T. R., & Chitaree, R. (2018). Development of Arduino-based logic gate training kit. Journal of Physics: Conference Series, 1144, 012134. doi:10.1088/1742-6596/1144/1/012134

2561

Phone Myint Hlaing, Nopparatjamjomras, T. R.*, & Nopparatjamjomras, S. (2018). Perception of Medical Doctors on Chest Tube Thoracostomy Simulation Model. In the 3rd International Conference on Applied Science and Health (ICASH), Thailand, 33-39.

2561

Linn Htet Aung*, Nopparatjamjomras, T. R., & Nopparatjamjomras, S. (2017). Medical Doctors’ Procedural Skill Performance and Attitude Toward Ultrasound-Guided Pericardiocentesis Model. In the 2nd International Conference on Applied Science and Health (ICASH), Thailand, 27-33.

2560

Norsaputra, A., Nopparatjamjomras, T. R.*, Nopparatjamjomras, S., & Chitaree, R. (2017). Development of Stefan-Boltzmann Board Game Based on Game Characteristics. In The 3rd International Conference on Education. Vol.3., Malaysia, 10-16.

2560

 

งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ

 

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่ผลงาน

‘Invention Award’ from National Research Council of Thailand for Chest Tube Thoracostomy Simulation Model

2562

‘Invention Award’ from National Research Council of Thailand for Pericardiocentesis Simulation Model

2561

 

ผศ.ดร.นพ.ยอดยิ่ง แดงประไพ

  ชื่อ-สกุล  

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ยอดยิ่ง แดงประไพ

ภาควิชาสรีรวิทยา

 

  คุณวุฒิ  

 

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

สำเร็จการศึกษาจาก

Certificate of completion 

Excellence in Learning and Teaching

Academy of Continuing Professional Development in Education

Macquarie University, Australia and Mahidol University, Thailand

Ph.D.

Physiological Sciences

University of Arizona, USA

พ.บ.

-

มหาวิทยาลัยมหิดล

 

  งานวิจัยที่สนใจหรือมีความชำนาญการ  

1. การร่วมรู้สึก (Empathy) ในนักศึกษาแพทย์

2. คุณภาพชีวิต (Wellbeing) ของนักศึกษาแพทย์ เช่น ภาวะหมดไฟ (Burnout) และภาวะซึมเศร้า (Depression)

 

  ผลงานทางวิชาการ 

 

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ 

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่ผลงาน

Thepwiwatjit S, Athisereerusth S, Lertpipopmetha W, Nanthanasub T, Dangprapai Y, Patient interviews improve empathy levels in the preclinical medical students. Siriraj Medical Journal. 2019;71(1): 44-51.

2562

Ngamskulrungroj P, Kiratisin P, Dangprapai Y, Thaipisuttikul I, Leelaporn A, Luisirirojanakul S, Kantakamalakul W, Horthongkam N. The efficacy of peer teaching in medical microbiology lectures. MedEdPublish 2017.6(3)18.

2560

Dangprapai Y. Integration in Medical Education: A Brief Introduction for Physiology Educators. J Physiol Biomed Sci 2016; 29(2): 25-29.

2559

 

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น (อบรมด้านการศึกษา)

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่ผลงาน

ยอดยิ่ง แดงประไพ. Certificate of completion (60 hours) of Excellence in Learning and Teaching (Module 1) by the Academy of Continuing Professional Development in Education, Macquarie University, Australia and Mahidol University. October 2019.

2562

ยอดยิ่ง แดงประไพ. อบรมเชิงปฏิบัติการ (2 วัน) Innovation Bootcamp through Design Thinking. จัดโดย RISE academy;  January 2019.

2562

ยอดยิ่ง แดงประไพ. โครงการพัฒนาผู้บริหาร Abridged Business Certificate รุ่นที่ 4. จัดโดย คณะพาณิชยศาสต์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

2560

 

ผศ. ดร.วรวรรณ วาณิชย์เจริญชัย

  ชื่อ-สกุล   

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรวรรณ วาณิชย์เจริญชัย

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ฝ่ายการศึกษา

 

  คุณวุฒิ  
 

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

สำเร็จการศึกษาจาก

สถาบัน

ค.ด.

เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ป.บัณฑิต

เทคโนโลยีสารสนเทศทางสถิติ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วท.ม.

เทคโนโลยีการจัดการระบบสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยมหิดล

วท.บ.

การพยาบาลและผดุงครรภ์

มหาวิทยาลัยมหิดล

 

 งานวิจัยที่สนใจหรือมีความชำนาญการ  

1. เทคโนโลยีทางการศึกษา

2. วิจัยทางการศึกษา

3. ประกันคุณาพการศึกษา

4. การจัดการความรู้

 

  ผลงานทางวิชาการ  

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ 

 

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่ผลงาน

Singnoi M, Vanicharoenchai V, Santhanavanich C. The Model of Deliberate Practice for Development of Nursing Practice Skills. Quality of Life and Law Journal 2019; 15(1): 115-131.

2562

สุฤดี โกศัยเนตร, วรวรรณ วาณิชย์เจริญชัย. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารสารสนเทศศาสตร์ ๒๕๕๙; ๓๔(๔): ๕๐-๖๗. 

2559

 

บทความทางวิชาการ

 

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่ผลงาน

วรวรรณ วาณิชย์เจริญชัย.  แหล่งสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต. วารสารสารสนเทศศาสตร์ ๒๕๖๑; ๓๖(๑): ๑๔๘-๑๕๘. 

2561

 

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

 

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่ผลงาน

วรวรรณ วาณิชย์เจริญชัย. บทเรียนออนไลน์แบบ SPOC วิชา สารสนเทศทางการพยาบาล จำนวน 15 ชั่วโมง ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยมหิดล รหัสโครงการ SPOC 61 สัญญาเลขที่ 2561/13

2561

 

ดร.เกียรติยศ กุลเดชชัยชาญ

  ชื่อ-สกุล  

ดร.เกียรติยศ กุลเดชชัยชาญ

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ฝ่ายการศึกษา

 

  คุณวุฒิ  

วุฒิการศึกษา

คุณวุฒิ/สาขาวิชา

สถาบัน

ค.บ.

ครุศาสตรบัณฑิต

(การสอนมัธยมศึกษา วิทยาศาสตร์ทั่วไป-ชีววิทยา)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ค.ม.

ครุศาสตรมหาบัณฑิต

(การศึกษานอกระบบโรงเรียน)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ค.ด.

ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต

(วิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

 งานวิจัยที่สนใจหรือมีความชำนาญการ  

การวิจัยเชิงคุณภาพ การประเมินเชิงคุณภาพ การประเมินความถนัดทางภาษา การวิจัยทางการศึกษา การวิจัยชุมชน การประกันคุณภาพเกณฑ์ TQA

 

  ผลงานทางวิชาการ  

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ 

 

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่ผลงาน

Suraseranivongse S., Kuldejchaichan K., , Leesirichaikul A. (2012).  Optimal Physicians’ Attire: Patients’ and Physician s’ Preference.  Siriraj Medical Journal, 64 (5), 136-140.

2555

สุทธิวรรณ  พีรศักดิ์โสภณ และเกียรติยศ กุลเดชชัยชาญ. (2560).  การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรินทรวิโรฒ ที่เข้าศึกษาด้วยวิธีรับตรงและวิธีระบบรับกลาง ปีการศึกษา 2558. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 9 (18), 220-229.

2560

อัจศรา ประเสริฐสิน, อุไร จักษ์ตรีมงคล,  มานิดา ชอบธรรม, กาญจนา ตระกูลวรกุล, เกียรติยศ  กุลเดชชัยชาญ, นภัสนันท์ แจ่มฟุ้ง. (2562). การประเมินผลการจัดบริการวิชาการแก่ชุมชน: โครงการการบูรณาการการวัดประเมินและการวิจัยในการจัดการเรียนการสอน. วารสารการวัดผลการศึกษา, 36 (100), 29-47

2562

อารีรัตน์  ลาวน้อย, กาญจนา  ตระกูลวรกุล, เกียรติยศ  กุลเดชชัยชาญ. (2564). การพัฒนาโมเดลเชิงตรรกะสำหรับการประเมินผลโครงการบริการวิชาการแก่สังคมด้านเศรษฐกิจ. วารสารการวัดผลการศึกษา, 38 (103)

2564

นวลพรรณ สูงสมสกุล, อัจศรา ประเสริฐสิน, เกียรติยศ  กุลเดชชัยชาญ. (2564).  การพัฒนาแบบตรวจสอบรายการประเมินอภิมานแบบตอบสนองสำหรับการตรวจเยี่ยมประเมินคุณภาพโรงพยาบาลของผู้เยี่ยมสำรวจใหม่. วารสารการวัดผลการศึกษา, 38 (103)

2564

 

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

 

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่ผลงาน

สุทธิวรรณ พีรศักดิ์โสภณ, อุไร จักษ์ตรีมงคล, เกียรติยศ กุลเดชชัยชาญ, รุ่งฤดี กล้าหาญ, กาญจนา ตระกูลวรกุล, ปิยพงษ์ คล้ายคลึงและอัจศรา ประเสริฐสิน. (2559).  การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบและการประเมินผลการนำคะแนนการทดสอบ GAT/PAT ไปใช้ในการรับบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา(รายงานผลการวิจัย).  กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

2559

ปิยพงษ์ คล้ายคลึง, ชัยยุทธ กลีบบัว, เกียรติยศ กุลเดชชัยชาญ, เรืองเดช ศิริกิจ และคณะฯ. (2561). การประเมินพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยกับสังคม (Engagement Thailand)(รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบันคลังสมองแห่งชาติ.

2561

ปิยพงษ์ คล้ายคลึง, กาญจนา ตระกูลวรกุล, เกียรติยศ กุลเดชชัยชาญ, พนัส จันทร์เปล่ง และคณะฯ. (2561). การประเมินโครงการยกระดับคุณภาพโรงเรียนระดับอำเภอด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี (โรงเรียนคุณภาพ ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท.) (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.).

2561

ปิยพงษ์ คล้ายคลึง, กาญจนา ตระกูลวรกุล, เกียรติยศ กุลเดชชัยชาญ, พนัส จันทร์เปล่ง คณะฯ. (2561). การประเมินโครงการบูรณาการสะเต็มศึกษา: การติดตามผลการพัฒนาครูสะเต็มศึกษาด้วยระบบทางไกล(รายงานผลการวิจัย).  กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.).

2561

 

ดร.ปาริชาต อภิเดชากุล

  ชื่อ-สกุล  

ดร.ปาริชาต อภิเดชากุล

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ฝ่ายการศึกษา

 

  คุณวุฒิ  

วุฒิการศึกษา

คุณวุฒิ/สาขาวิชา

สถาบัน

พยบ.

พยาบาลศาสตร์บัณฑิต

(การพยาบาลและผดุงครรภ์)

มหาวิทยาลัยมหิดล

รปม.

รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต

คณะรัฐศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ค.ด.

ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต

(การวัดและประเมินผลการศึกษา)

คณะครุศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

 งานวิจัยที่สนใจหรือมีความชำนาญการ  

การวัดและประเมินผลทางการศึกษา การประเมินภาคปฏิบัติ การวิจัยทางการศึกษา การเรียนการสอนด้วยสถานการณ์จำลอง

 

  ผลงานทางวิชาการ  

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ 

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่ผลงาน

ปาริชาต อภิเดชากุล, พงศ์ธารา วิจิตเวชไพศาล, เพชรี เจนจบ, ธนาภรณ์ นะภาโชติ, ลัดดา เพิ่มผลประเสริฐ. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจลาออกของวิสัญญีพยาบาลสังกัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ. วิสัญญีสาร. ปีที่ 41 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม), หน้า 254-262.

2558

ปาริชาต อภิเดชากุล, พงศ์ธารา วิจิตเวชไพศาล,  ธัชวรรณ จิระติวานนท์, เบญจรัตน์ หยกอุบล, ภาวัลย์ สุทนต์, สุทธิพล อุดมพันธุรักษ์. (2562). การเปรียบเทียบกระบวนการสอนระหว่างวิธีการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานกับการสอนด้วยสถานการณ์จำลองในการเรียนเชิงปฏิบัติการเรื่องการบริหารจัดการภาวะทางเดินหายใจยาก. วิสัญญีสาร. ปีที่ 45 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน), หน้า 111-6.

2562

Apidechakul, P., Vichitvejpaisal, P., Jirativanont, T., Triyasunant, N., Iramaneerat, C., & Udompandurak, S. (2017). Crossover Study in Simulation-based and Problem-based Learning in Difficult Airway Management. MedEdPublish, 6.

2017

Apidechakul, P., Toomtong, P., & Jirativanont, T. (2017). The observation of tracheal intubation skills in 5th year medical students: Bridging the gap between the novice and the expert. Thai Journal of Anesthesiology, 43(1), 19-26.

2017

Apidechakul, P., Mandee, S., Petthongkam, A., Karntha, A., & Wongchompoo, N. (2018). Accuracy of Data Obtained from Post-Anesthesia Visits. JOURNAL OF THE MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND, 101(9), 101.

2018

Visalyaputra, S., Sanansilp, V., Pechpaisit, N., Choavarartana, R., Sritisarn, S., Ungpinitpong, W., ... & Apidechakul, P. (2002). Postoperative analgesic effects of intravenous lornoxicam and morphine with pre-emtive ropivacaine skin infiltration and preperitoneal instillation after transabdominal hysterectomy. Journal of the Medical Association of Thailand= Chotmaihet thangphaet, 85, S1010.

2002

Visalyaputra, S., Pethpaisit, N., Ariyanon, P., Parakkamodom, S., Permpolprasert, L., Apidechakul, P., ... & Sirilertmakasakul, P. (2002). EMLA cream and intraperitoneal lidocaine decrease intraoperative pain during postpartum tubal sterilization. Journal of the Medical Association of Thailand= Chotmaihet Thangphaet, 85, S942-7.

2002

Vichitvejpaisal, P., Apidechakul, P., Chamadol, S., & Mahatnirunkul, P. (2009). Computer-Assisted Instruction: a Two-Edged Sabre that can Blunt the Active Learning process. publishing in Asean Journal of Anaesthesiologists.

2009

Varasunun, P., Apidechakul, P., Chamadol, S., Kraiprasit, K., & Chainchop, P. (2011). Developing a Two-Tier Diagnostic Test to assess Arterial Blood Gases learning by students with different background knowledge in Anesthesiology. South-East Asian Journal of Medical Education, 5(2), 27.

2011

Vichitvejpaisal, P. P., Varasunun, P., Apidechakul, P., Chamadol, S., Kraiprasit, K., & Chainchop, P. (2013). Developing a Two-tier Diagnostic Test to Assess Arterial Blood Gases Learning of Nurse Students in Anesthesiology. วารสารศึกษาศาสตร์, 35(2), 68-77.

2013

Vichitvejpaisal, P., Panjamawat, T., Varasunun, P., Apidechakul, P., Kraiprasit, K. and Chainchop, P., (2014). Development and assessment of an online computer- assisted instruction method. South-East Asian Journal of Medical Education, 8(2), pp.29–34.

2014

Nilyam, P., Permpolprasert, L., Apidechahul, P., & Rungjindamai, C. (2016). A comparison of pain assessment following cesarean section between ward nurse and pain management team in Siriraj Hospital. Thai Journal of Anesthesiology, 42(4), 291-299.

2016

Parakkamodom, S., Chainchop, P., Napachoti, T., Apidechakul, P., Puangchan, S., & Amornyotin, S. (2016). Quality of anesthesia care in a university hospital in Thailand. J Med Assoc Thai, 99(5), 622-8.

2016

Jirativanont, T., Raksamani, K., Aroonpruksakul, N., Apidechakul, P., & Suraseranivongse, S. (2017). Validity evidence of non-technical skills assessment instruments in simulated anaesthesia crisis management. Anaesthesia and intensive care, 45(4), 469-475.

2017

Jirativanont, T., Phoowanakulchai, S., Waitayawinyu, P., Suphathamwit, A., Apidechakul, P., & Raksamani, K. (2020). Residents as teachers: optimizing the benefit of a difficult airway management simulation session. Asian Biomedicine, 13(4), 141-147.

2020

Permpolprasert, L., Apidechakul, P., Punchuklang, W., Pandomrong, K., Supapueng, O., & Vichitvejpaisal, P. (2020). Significance of Inspiratory Muscle Strength in Gynecologic Patients after Spinal Anesthesia. JOURNAL OF THE MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND, 103(9), 937-42.

2020

 

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

ชื่อผลงาน

ปีที่เผยแพร่ผลงาน

พงศ์ธารา วิจิตเวชไพศาล, ปาริชาต อภิเดชากุล, สุธิศา ฉมาดล, พรทิพย์ มหัตนิรันดร์กุล, สุภาณดี จันต๊ะคาด, มัฮดี แวดราแม. (2551) “การวิเคราะห์โค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝงในวิชาความผิดปกติดุลกรดด่างและอิเล็กโตรลัยท์ของนักเรียนพยาบาลวิสัญญี” วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ์-พฤษภาคม), หน้า 65-76.

2551

ปาริชาต อภิเดชากุล, พงศ์ธารา วิจิตเวชไพศาล, วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล. (2560).  “การเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองในผู้เรียนทางวิสัญญีวิทยา.”.  วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.  ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน), หน้า 288-298.

2560

มานี รักษาเกียรติศักดิ์, จริยา เลิศอรรฆยมณี, เบญจรัตน์ หยกอุบล, อรณี สวัสดิ์-ชูโต และปาริชาต อภิเดชากุล. (2558). ตำราวิสัญญีพื้นฐานและแนวทางปฏิบัติ. สำนักพิมพ์ศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.

2558

มานี รักษาเกียรติศักดิ์, เบญจรัตน์ หยกอุบล, กำแหง วัชรักษะ, ขนิษฐา ไกรประสิทธิ์ และปาริชาตอภิเดชากุล. (2560). ตำราวิสัญญีพื้นฐานและหน่วยงานปฏิบัติ  Basic anesthesia procedural units. สำนักพิมพ์ศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

2560

น้ำทิพย์ ไตรยสุนันท์, ปาริชาต อภิเดชากุล.  (2560).  “การให้ยาระงับความรู้สึกสำหรับการผ่าตัดทางสูติกรรม” ใน  ตำราวิสัญญีพื้นฐานและหน่วยงานปฏิบัติ.  กรุงเทพมหานคร:  สำนักพิมพ์ศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, หน้า 129-158.

2560

 

นพ.วุฒิภัทร เอี่ยมมีชัย

  ชื่อ-สกุล  

นพ.วุฒิภัทร เอี่ยมมีชัย

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ฝ่ายการศึกษา

 

  คุณวุฒิ  

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

สำเร็จการศึกษาจากสถาบัน

ว.ว.

จิตเวชศาสตร์

แพทยสภา

ป.บัณฑิตชั้นสูง

วิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก

มหาวิทยาลัยมหิดล

พ.บ.

 

มหาวิทยาลัยมหิดล

 

 งานวิจัยที่สนใจหรือมีความชำนาญการ  

1. Medical education

2. Applied theatre in education

3. Psychotherapy

  

 

 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

นางสาวพิราวรรณ หนูเสน โทร 02-419-6637 หรือ   Email: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.