หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการศึกษาวิทยา ศาสตร์สุขภาพ
ขอเรียนเชิญผู้สนใจเข้าศึกษาหลักสูตรอบรมระยะสั้น เรื่อง |
SIHE 536 : Educational Research Methods
การเข้าใจทฤษฎีการเรียนรู้ทางการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เปิดเรียนวันที่ 6 มกราคม 2568
เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน - 13 ธันวาคม 2567
เรียนนอกเวลาราชการ จ.-ศ. เวลา 17.00 - 20.00 น. และ ส. เวลา 09.00 - 12.00 น. / 13.00 - 16.00 น.
|
เลือกรูปแบบการเรียนได้! ไม่ว่าจะเป็นเรียนในห้องเรียน Face to face /เรียนออนไลน์แบบ Synchronous real-time ถาม-ตอบได้ทันที |
หรือจะเลือกเรียนแบบ Asynchronous เรียนออนไลน์ย้อนหลังด้วยตัวเอง ก็ทำได้ | |
นักศึกษาที่กำลังศึกษาระดับปริญญาตรีก็สามารถเรียนได้ |
ลงทะเบียนสมัครเรียน short course
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม : คุณรัตนสุดา 0 2419 5193
- รายละเอียดหลักสูตร
- คำอธิบายรายวิชา
- รูปแบบการเรียน
- ค่าลงทะเบียน
- การสมัคร
- ขั้นตอนการสมัครด้วยตนเอง
- การขอใบรับรองการชำระเงิน
- ตารางสอน
ไม่ว่าท่านจะทำอาชีพอะไร ไม่ว่าท่านจะจบวุฒิการศึกษาใด ไม่ต้องสอบข้อเขียน
ไม่ต้องสอบสัมภาษณ์เพื่อเข้าเรียน ไม่ต้องไปสอบภาษาอังกฤษเพื่อเอามายื่นในการสมัคร
ขอแค่มีใจรักด้านการศึกษา ก็สามารถเข้าศึกษาหลักสูตรนี้ได้
คุณสมบัติผู้สมัครสอบ
-บุคคลทั่วไป
-นักศึกษาที่กำลังศึกษาระดับปริญญาตรี
เงื่อนไขการผ่านหลักสูตร
1. เข้าเรียนไม่ต่ำกว่า 80% ของระยะเวลาเรียนทั้งหมด
2. ส่งรายงานตามข้อกำหนด
3. สอบปลายภาค
สิ่งที่ท่านจะได้รับหลังจากสำเร็จการศึกษา
1. ได้รับประกาศนียบัตร หลักสูตรอบรมระยะสั้น (Short Course) สามารถนำไปปรับตำแหน่งหน้าที่ได้(ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขหน่วยงานของท่าน)
2. ได้รับ transcript หลังจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหิดล ผู้จบหลักสูตร สามารถนำหน่วยกิตที่ได้ ไปใช้เทียบโอนหน่วยกิตเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยมหิดลได้
ศรกส ๕๓๖ : ทฤษฎีการเรียนรู้สำหรับหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ ๒ (๒-๐-๔)
SIHE 536 : Learning Theories for Health Science programs
พื้นฐานทางชีววิทยาของการเรียนรู้และการรู้คิด แรงจูงใจ และการรับรู้ความสามารถของตนเอง ทฤษฏีการสอนของกานเย่ การเรียนรู้จากการตั้งใจปฏิบัติ การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ทฤษฎีพหุปัญญา ความฉลาดทางอารมณ์ พัฒนาการทางจริยธรรม หลักการพื้นฐานของสื่อการเรียนรู้ในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ การประยุกต์ทฤษฎีการเรียนรู้ในการสอนหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ
Biological basis of learning and cognition, motivation and self-efficacy; Gagne’s Theory of Instruction, deliberate practice, constructivism; The 21st Century Skills; Theory of Multiple Intelligences; emotional intelligence; moral development; basic principles of the learning media in health science programs; applications of learning theories in teaching health science programs
รูปแบบการเรียน
เรียนนอกเวลาราชการ มีให้เลือก 3 รูปแบบ ดังนี้
1. Face to face คือ เรียนในห้องเรียนที่คณะเเพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
2. Synchronous online คือ เวลาเรียนต้องเข้าเรียนตามตารางสอนในรูปแบบ real time ตามตารางสอนกำหนด โดยมีวิธีการวัดและประเมินผลเก็บคะแนน ณ วันที่เรียนตามตารางสอนของรายวิชานั้นๆ
3. Asynchronous online คือ เรียนโดยการดู VDO ย้อนหลัง โดยวิธีการวัดและประเมินผลหรือการเก็บคะแนนในแต่ละคาบเรียนจะแตกต่างกันเพื่อนที่เรียนแบบ Synchronous online ซึ่งอาจารย์แต่ละรายวิชาจะให้ Assignment และกำหนดส่งตาม timeline ที่กำหนดจริง
ค่าลงทะเบียน
อัตราค่าลงทะเบียน 9,000 บาทต่อ 1 หลักสูตร หากเลือกหลักสูตรอื่นเพิ่มเติม จะชำระค่าลงทะเบียนเพิ่มอีก 9,000 บาทต่อหลักสูตร
(ยกเว้นการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาสำหรับบุคลทั่วไปเข้าศึกษารายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา ได้แก่ ค่าบำรุงการศึกษา, ค่าบำรุงบัณฑิตวิทยาลัย และค่าบริการ Internet)
*โดยผู้สนใจสามารถเลือกกี่หลักสูตรก็ได้ ตามรายวิ
*โดยผู้สนใจสามารถเลือกกี่หลักสูตรก็ได้ ตามรายวิชาที่เปิดสอน ดังนี้
- วิธีการวิจัยทางการศึกษา
- ทฤษฎีการเรียนรู้สำหรับหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ
- วิธีวัดผลการศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ
- แนวทางการพัฒนาและประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ
- สถานการณ์จำลองในการสอนและวัดผลในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ
- สถิติพื้นฐานทางการศึกษา
- การประกันคุณภาพการศึกษาในการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ตัวอย่าง หากท่านสนใจหลักสูตร “หลักการวิจัยทางการศึกษา” และ “การเรียนรู้ในโรงเรียนวิทยาศาตร์สุขภาพ” อัตราค่าลงทะเบียนที่ท่านต้องชำระคือ 9,000 + 9,000 = 18,000 บาท
ทั้งนี้ บุคลากรภายในคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สามารถเขียนโครงการเพื่อขอรับทุนของคณะฯ ได้
รายละเอียดการขอทุน
สำหรับเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน https://www.si.mahidol.ac.th/th/division/hr/sds/
สำหรับอาจารย์และผู้ช่วยอาจารย์ https://www.si.mahidol.ac.th/th/academics/
**บุคลากรภายในคณะฯ ที่ต้องการขอทุนสามารถขอรับคำปรึกษาวิธีการเขียนโครงการเพื่อขอทุนการศึกษาได้ที่ คุณรัตนสุดา โสภวัฒนกุล โทร. 024196637 / 024199978 หรือ E-mail :
**สำหรับบุคคลทั่วไปที่ไม่ใช่สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สามารถขอทุนการศึกษาได้ เฉพาะการเรียนแบบ Full Course เท่านั้น (เรียนเต็มหลักสูตร) ผู้สนใจสามารถอ่านรายละเอียดได้ คลิกที่นี่เพื่ออ่านรายละเอียด Fullcourse
ผู้สนใจศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร (หลักสูตรระยะสั้น) สามารถเลือกสมัครได้ 2 วิธีการ ดังนี้
1. ยินยอมให้หลักสูตรฯ ดำเนินการสมัครแทน
โดยผู้สมัครกรอกข้อมูล และ อัพโหลดเอกสาร (สำเนาปริญญาบัตร , สำเนาใบแสดงผลกรศึกษา (transcript) , สำเนาบัตรประชาชน หรือ หนังสือเดินทาง , รูปถ่าย , หนังสือรับรองประสบการณ์การทำงาน(ถ้ามี)) ให้ครบถ้วน จากนั้นหลักสูตรฯ จะดำเนินการสมัครให้ท่านผ่านเว็บไซต์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่วันที่ 1 ก.พ. - 12 ก.ค. 2567 โดยเจ้าหน้าที่หลักสูตรฯ จะติดต่อกับท่านเพื่อให้ผู้สมัคร activate account (กรณีไม่เคยเป็นสมาชิก) และยืนยันการลงทะเบียนผ่านทาง E-mail ของท่านอีกครั้ง
หากท่านยินยอมให้หลักสูตรฯ สมัครแทน กรุณาคลิกปุ่มด้านล่าง
2. ประสงค์สมัครเองโดยให้หลักสูตรฯ แจ้งเตือน
ผู้สมัครทำการกรอกข้อมูลเบื้องต้น เมื่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดรับสมัคร หลักสูตรฯ จะดำเนินการแจ้งเตือนให้ท่านสมัครผ่านเว็บไซต์ https://graduate.mahidol.ac.th/MAP-2021/login-general.php ต่อไป (สามารถศึกษาคู่มือสมัครได้ที่ แท็บขั้นตอนการสมัครด้วยตนเอง)
หากท่านประสงค์สมัครเอง โดยให้หลักสูตรฯ แจ้งเตือนกรุณาคลิกปุ่มด้านล่าง
ขั้นตอนการสมัครด้วยตนเอง
วิธีการสมัครเข้าเรียน (แบบสมัครด้วยตนเอง)
สมัครได้ตั้งแต่ วันที่ 1 มิถุนายน - 13 ธันวาคม 2567 ผ่านเว็บไซต์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล (https://graduate.mahidol.ac.th/MAP-2021/login-general.php)
การขอใบรับรองชำระเงิน
ขั้นตอนการขอใบรับรองการชำระเงิน / ใบรับรองการเข้าศึกษา ที่ลงทะเบียนเรียนหลักสูตร Short course ในระบบ Mahidol Apprenticeship Program Curriculum (MAP-C)
ตารางสอน
ศรกส ๕๓๖ : ทฤษฎีการเรียนรู้สำหรับหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ ๒ (๒-๐-๔)
SIHE 536 : Learning Theories for Health Science programs
อาจารย์ผู้สอน
- รศ. ดร. นพ.เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์
- รศ. ดร.ทัศนียา รัตนฤาทัย นพรัตน์แจ่มจำรัส
- ผศ. พญ.ณัฏฐิดา โอวัฒนาพานิช
- อ. พญ.กมลทิพย์ เลิศชัยสถาพร
เปิดสอนแบบ Face to Face / Synchronous online / Asynchronous online
ครั้งที่ |
วัน เดือน ปี |
เวลา |
หัวข้อ |
อาจารย์ผู้สอน |
1 |
พ. 5 กุมภาพันธ์ 2568 |
17.00-20.00 น. |
Motivation and self-efficacy |
รศ. ดร. นพ.เชิดศักดิ์ |
2 |
พ. 19 กุมภาพันธ์ 2568 |
17.00-20.00 น. |
biological basis of learning and cognition |
ผศ. พญ.ณัฏฐิดา |
3 |
พ. 26 กุมภาพันธ์ 2568 |
17.00-20.00 น. |
Deliberate practice |
รศ. ดร. นพ.เชิดศักดิ์ |
4 |
พ. 5 มีนาคม 2568 |
17.00-20.00 น. |
Constructivism |
รศ. ดร.ทัศนียา |
5 |
พ. 12 มีนาคม 2568 |
17.00-20.00 น. |
Gagne's theory of instruction |
รศ. ดร.ทัศนียา |
6 |
พ. 19 มีนาคม 2568 |
17.00-20.00 น. |
the 21st century skills |
ผศ. พญ.ณัฏฐิดา |
7 |
พ. 26 มีนาคม 2568 |
17.00-20.00 น. |
multiple intelligences theory |
รศ. ดร. นพ.เชิดศักดิ์ |
8 |
พ. 2 เมษายน 2568 |
17.00-20.00 น. |
Moral development |
อ. พญ.กมลทิพย์ |
9 |
พ. 9 เมษายน 2568 |
17.00-20.00 น. |
emotional intelligence |
ผศ. พญ.ณัฏฐิดา |
10 |
พ. 23 เมษายน 2568 |
17.00-20.00 น. |
basic principles of learning media |
รศ. ดร. นพ.เชิดศักดิ์ |
11 |
ศ. 25 เมษายน 2568 |
13.00-16.00 น. |
Seminar Online learning |
รศ. ดร. นพ.เชิดศักดิ์ |
12 |
ศ. 25 เมษายน 2568 |
17.00-19.30 น. |
สอบปลายภาค |
หมายเหตุ : ข้อมูลในตารางสอน อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความจำเป็นและเหมาะสม
สถานที่เรียน : ห้องบรรยาย 506 อาคารศรีสวรินทิรา ชั้น 5 คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล