Page 39 - 3_2023_journal
P. 39
เป็นอย่างไรบ้างครับ ถ้าคำาถามเหล่านี้เป็นคำาถามที่ท่านผู้อ่านก็กำาลังสงสัยอยู่ในใจพอดี ผมอยาก
ขอให้ทุกท่านอ่านต่อและรับรองว่าจะมีความมั่นใจในการจัด และเข้าใจที่มาที่ไปของกระบวนการ
ในการจัด TBL ดีขึ้นแบบพร้อมใช้ พร้อมเริ่มอย่างแน่นอน และส่วนท่านผู้อ่านท่านใดที่มีคำาตอบในใจ
อยู่แล้ว ก็เป็นโอกาสอันดีมาก ๆ ครับ ที่จะได้ลองเช็คดูว่าแนวทางการบริหารจัดการห้องเรียน TBL
ที่ท่านทำา เหมือนหรือต่างกับที่บทความนี้กำาลังจะนำาเสนออย่างไร
การปฐมนิเทศผู้เรียน (Student Orientation)
ปัจจัยสำาคัญที่จะทำาให้การจัดการเรียน ดังนั้นการจัดช่วงเวลาอธิบายจึงมีความสำาคัญ
การสอนประสบความสำาเร็จ คือ การที่ผู้สอน อย่างมากเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจว่าจะต้องเจอกับการ
ต้องซื้อใจผู้เรียนให้ได้ (student buy-in) และ เรียนรูปแบบใด ซึ่งสามารถทำาได้หลายแนวทาง เช่น
เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง ซึ่งโดยปกติเมื่อ การจัด orientation ตั้งแต่คาบแรกของรายวิชา
นึกถึงการเรียนเป็นกลุ่มหรือเป็นทีม ผู้เรียน โดยการ orientation ให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา/
หลายคนก็อาจจะนึกถึงภาพการเรียนในห้อง เอกสารการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการเรียนรูปแบบ
ใหญ่แล้วก็แบ่งกลุ่มตามอัธยาศัย แบ่งตามห้อง TBL มาก่อนล่วงหน้า และเข้ามาเรียนคาบแรก
ปฏิบัติการ หรือการจับกลุ่มซ้ายขวาหน้าหลัง แบบ TBL เลย และเปิดช่วงถามตอบเพื่อ
พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งภาพเหล่านั้น ให้ผู้เรียนได้อภิปราย หรือหาข้อตกลงร่วมกัน
ห่างไกลจากรูปแบบการเรียนแบบ TBL มากพอ เป็น ground rules สำาหรับการจัดรายวิชานั้น ๆ
สมควร ที่ผู้เรียนจะต้องมีการเตรียมตัวก่อนเข้า หรือ อาจจะจัดเป็นคาบปฐมนิเทศสั้น ๆ ประมาณ
เรียน มีกระบวนการตามลำาดับระหว่างการเรียน 10-20 นาที เพื่ออธิบายรายวิชาว่ารูปแบบการเรียน
และกิจกรรมที่ต้องมีส่วนร่วมต่างจากที่ปกติ จะมีความแตกต่างไปจากเดิม
ผู้เรียนคุ้นเคย
โดยเนื้อหาที่จะต้องครอบคลุม ประกอบด้วย
• การเรียนจะเป็นแบบ flipped classroom ที่ผู้เรียนต้องเตรียมตัวมาก่อนเริ่มกิจกรรม
• ผู้เรียนจะได้ทำางานเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ซึ่งอาจารย์จะจัดกลุ่มให้
• เมื่อมาถึง (ซึ่งควรตรงเวลา) ผู้เรียนแต่ละคนจะได้ทำาข้อสอบที่จัดเตรียมไว้ ซึ่งจะถามเกี่ยวกับเนื้อหา
ที่ให้ศึกษามาก่อน เรียกว่า iRAT
• กติกา บทบาท และกระบวนการเรียนรู้ในแต่ละช่วงของ TBL
• คะแนนในการเรียนการสอนจะถูกแบ่งละประเมินอย่างไร เช่น คะแนนจาก iRAT 25% gRAT 35%
Application exercise 25% Peer evaluation 15% เป็นต้น
36