Page 34 - 3_2023_journal
P. 34
2.1 ใช้เครื่องมือประเมินที่เหมาะสม 2.2 ให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการประเมินก่อน
เนื่องจากความท้าทายในการใช้ peer assessment เนื่องจากการประเมินเป็นทักษะ ผู้เรียนควรได้รับ
ได้มีการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาเครื่องมือที่หลาก โอกาสในการฝึกฝนวิธีการสังเกตและ feedback
หลาย เช่น การให้คะแนนเพื่อนแต่ละคนแยกกัน พฤติกรรมเพื่อนร่วมกลุ่ม “โดยเฉพาะในบริบท
ตามหัวข้อที่ได้กำาหนดไว้ (Koles Method) ประเทศไทยซึ่งอาจมองว่าการแนะนำาให้พัฒนา
การให้คะแนนมาจำานวนหนึ่งแล้วให้จัดสรร ข้อผิดพลาดเป็นการต่อว่า ดังนั้น อาจารย์ควร
ให้สมาชิกกลุ่มตามสัดส่วนการมีส่วนร่วม แนะนำาเบื้องต้นเกี่ยวกับแนวทางการพูดคุยตัก
(Michaelsen Method หากไม่สามารถแบ่ง เตือน กันและกันในกลุ่ม รวมถึงการใช้เครื่องมือ
คะแนนให้เท่ากันทุกคนได้ หรือ Fink Method ประเมิน อาจให้ทดลองใช้ 1-2 ครั้ง ในช่วงกลาง
หากสามารถจัดสรรคะแนนให้เท่ากันได้) หรือการ rotation ซึ่งข้อมูลทั้งหมดไม่ว่าจะผ่านพฤติกรรม
ให้เรียงลำาดับเพื่อนตามการมีส่วนร่วม จุดสำาคัญ ในห้องเรียนที่อาจารย์สังเกตได้ หรือผ่านการใช้
ในการเลือกเครื่องมือประเมินที่ทำาให้นักเรียนให้ เครื่องมือประเมินเพื่อนในครั้งทดลอง ควรถูกนำามา
คะแนนได้เที่ยงตรงที่สุด คือการให้ผู้เรียนมีส่วน พิจารณาและสอนนักเรียนเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้ peer
ในการเลือก ตกลง และปรับเปลี่ยนเครื่องมือ assessment ก่อนประเมินครั้งสุดท้ายเพื่อคิดคะแนน
ประเมินก่อนนำามาใช้ เพื่อให้ตัวผู้เรียนเองยอมรับ เมื่อสิ้นสุดกิจกรรม team-based learning
กระบวนการ peer assessment มากขึ้น
31