Page 43 - 3_2023_journal
P. 43
รางวัลแรงจูงใจ (Incentives) Assessment
เริ่มต้นด้วยการเข้าใจผู้เรียนในยุคปัจจุบันว่า ผู้เรียนมีความต้องการในการทำางานเป็นกลุ่ม ประเด็นสำาคัญของการประเมิน สำาหรับ TBL ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ Readiness Assurance Test,
ชอบการพูดคุยสื่อสารระหว่างกัน และต้องการที่จะได้รับข้อมูลป้อนกลับ (explicit feedback) กระบวนการ Appeal, Application exercise และ Peer evaluation
แบบตรงไปตรงมาและรวดเร็ว ซึ่งการเรียนแบบ TBL ตอบโจทย์ผู้เรียนยุคใหม่อย่างมาก ในทุก ๆ กิจกรรม • iRAT และ gRAT
จะมีกระบวนการที่ผู้เรียนจะได้รับ feedback เช่น IF-AT จากการขูดกระดาษคำาตอบ ความสนุกสนาน o สำาหรับรายละเอียดในเชิงเนื้อหา ท่านผู้อ่านคงพอทราบ
จากการ appeals คำาตอบที่ถูกต้อง หรือความสนุกจากความเร็วและความครบถ้วนในการวิเคราะห์ และ มาระดับหนึ่งแล้วว่า ข้อสอบ iRAT/gRAT ควรออกเนื้อหา
แก้ปัญหาโจทย์ ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้เป็นส่วนผสมระหว่างแรงจูงใจภายในและภายนอก
อย่างไร ผู้เขียนอยากให้รายละเอียดเพิ่มเติมในส่วนของการจัดการ
Extrinsic motivation
Extrinsic motivation เรียนการสอน เนื่องจากลักษณะข้อสอบมักวางไว้ให้คำาถามและ
แรงจูงใจลักษณะนี้อาจจะมาจาก คะแนน คำาตอบเปิดให้เกิดการ discussion ดังนั้นการจัดต้องให้
จาก iRAT gRAT และ Peer assessment หรือ อาจจะ ความสำาคัญว่า ผู้สอบเริ่มทำาการสอบพร้อมกัน โดยเฉพาะถ้ามี
เป็นรางวัลเล็กน้อย เช่น ขนม หรือบัตรส่วนลด การจัดแบ่งห้องย่อย เพื่อไม่ให้เกิดการได้เปรียบเสียเปรียบ และ
ร้านอาหาร/ร้านกาแฟ เมื่อผู้เรียนแสดงการร่วม ในกระบวนการทำา gRAT ควรมีการกำาหนดให้แต่ละกลุ่มมีคน
กิจกรรม หรือสามารถตอบคำาถามบางข้อได้อย่าง ขูดอย่างน้อย 1 คน และคนที่คอยควบคุมเวลา เพื่อให้ทุกกลุ่ม
ลึกซึ้ง หรือได้คะแนนรวมสูงสุด หรือผลการประเมิน บริหารจัดการได้โดยไม่วุ่นวายและทำาเสร็จได้ทันเวลา สำาหรับ
เพื่อนยอดเยี่ยม เป็นต้น การจัดทำาข้อสอบ gRAT ชนิดที่เป็น scratch test หรือขูดแผ่น
Intrinsic motivation คำาตอบ ควรมีการวางรูปแบบสัญลักษณ์เฉลยไว้ในจุดที่สลับ
o การเรียนรูปแบบนี้ ผู้เรียนได้มีโอกาส o ที่เหนือไปกว่านั้น คือการเรียนที่ผู้เรียน เล็กน้อย เช่น ติดขอบบน หรือเหลื่อมจากจุดกึ่งกลางของแต่ละ
เรียนรู้อย่างสนุกและรู้สึกมีส่วนร่วม รวมไปถึงได้ ได้รับข้อมูลป้อนกลับทันที เช่น การขูดกระดาษ ตัวเลือกเล็กน้อย เพื่อให้เกิดความตื่นเต้นในการขูด ป้องกันการ
เห็นแนวทางการ approach วิธีการแก้โจทย์ที่ คำตอบ หรือรับคำตอบจากผู้สอนเมื่อเกิด ทุจริตจากการขูดเช็คบางส่วน และควรตรวจสอบทุกครั้งว่า
หลากหลายจากเพื่อน ๆ ในกลุ่มและจากกลุ่ม ความสงสัย จะทำให้ผู้เรียนเกิดความมั่นใจใน กระดาษไม่สามารถใช้ flash หรือไฟฉายส่องทะลุเห็นคำาตอบได้
อื่น ๆ ได้เรียนรู้จาก case จริง รวมไปถึงได้คำตอบ ศักยภาพการเรียนและการเตรียมตัวของตนเอง • Appeal process
จากผู้เชี่ยวชาญที่มีความชำนาญในเรื่องนั้น ๆ ซึ่ง มากยิ่งขึ้น เห็นว่าตนเองสามารถเรียนได้ มีศักยภาพ o โดยปกติแล้วแนะนำาให้กระบวนการนี้จัดทำาโดยการเขียนและส่งบอกเหตุผลที่ขอโต้แย้งหรือขอ
สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นรางวัลที่เกิดจากการเรียนรู้ มีส่วนร่วมกับกิจกรรมได้ ทำให้ผู้เรียนเกิด ประท้วงเฉลยจากการขูดกระดาษคำาตอบ gRAT ทั้งนี้หากมีเวลาจำากัดและเห็นว่าบรรยากาศในการเรียน
ดังนั้นจึงแนะนำให้การจัดการเรียน TBL การพัฒนา self-directed learning มีความ ผู้เรียนมีส่วนร่วมค่อนข้างดี อาจจะใช้วิธีการให้ยกมือโหวตเพื่อเสนอค้าน โดยทริคเล็กน้อยในกระบวนการนี้
จำเป็นจะต้องมีอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ รับผิดชอบกับหน้าที่ตนเอง และมีความสุขกับ คือ แนะนำาให้ในระหว่างที่ตัวแทนแต่ละทีมทำาการแสดงความคิดเห็นว่าเหตุใดตัวเลือกที่ตนเองตอบควร
อยู่เสมอ เพื่อตอบคำถามบางประเด็นให้เกิด การเรียนมากขึ้น รวมไปถึงความสนุกสนาน และ ได้คะแนน ตัวแทนควรหันและพูดไปทางทีมอื่น ๆ มากกว่าการหันมาพูดกับผู้สอน และให้ทีมอื่น ๆ ที่เห็นด้วย
ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งหรือชวนคิดต่อยอดได้อย่าง มิตรภาพระหว่างสมาชิกในกลุ่ม หรือเห็นแย้งกระตุ้นให้เกิดการถกเถียงต่อไป ลักษณะนี้จะช่วยให้บรรยากาศในห้องเป็นบรรยากาศที่เน้น
เข้มข้น ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางมากยิ่งขึ้น
แต่กระบวนการทั้งหมดของแรงจูงใจอาจจะหมดไปได้ หากเนื้อหาที่ต้องเตรียมหรืออ่าน มีปริมาณ
เยอะเกินไป เมื่อผู้เรียนอ่านหรือเตรียมตัวมาแล้ว สิ่งที่เจอให้ห้องเรียนไม่สอดคล้องกับที่เตรียมตัวมา • Application Exercise
ทำาให้ผู้เรียนรู้สึกเหมือนเสียเวลาเปล่า กิจกรรมการเรียนรู้ก็จะไม่ได้รับประโยชน์อย่างที่ควรจะเป็น o ผู้สอนสามารถเลือกได้ระหว่าง open-ended และ single best answer question (SAQ)
ซึ่งในที่นี้ผู้เขียนขอแนะนำาในกรณีที่ท่านผู้อ่านเพิ่งจะเริ่มทำาให้เริ่มด้วย SAQ เป็นหลัก
40