Page 32 - 3_2023_journal
P. 32

06
























    Assessment
    Assessment in


           Team-Based Learning
           Team-Based Learning

         นพ.ธิติพันธ์ ศรีกุลมนตรี
         ศูนยความเป็นเลิศดานการศึกษาวิทยาศาสตรสุขภาพ คณะเเพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
                       ้
            ์
                                                              ์
                                          ์
          แนวทางการประเมินใน Team-based learning
             การประเมินผลในการเรียน team-based learning เป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่มีความสำาคัญเพราะเป็น
        เสมือนการสื่อสารระหว่างอาจารย์กับผู้เรียนถึงวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในชั้นเรียนนั้น ๆ หากวิธีการประเมินผล

        ในห้องเรียน team-based learning ถูกออกแบบอย่างเหมาะสม เชื่อได้ว่าผู้เรียนจะมีโอกาสในการเรียนรู้
        และพัฒนาขึ้นตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้จากทุก ๆ กระบวนการที่จัดขึ้นใน team-based learning มากที่สุด

        ผ่านหลักการสำาคัญ 3 ประเด็นดังนี้

                   ปรับแหล่งข้อมูล และสัดส่วนในการประเมินผลให้เหมาะสมอยู่เสมอ
        1           การที่กิจกรรมในรูปแบบการเรียนในห้องเรียนมีหลายขั้นตอน เช่น ใช้ข้อมูลจากทั้ง individual
                         1.1 การประเมินผลใน team-based learning ควรใช้ข้อมูลหลากหลาย ซึ่งมาจาก



                  readiness assurance test (iRAT) group readiness assurance test (gRAT) รวมถึง
        application exercise อย่างไรก็ตาม การประเมินแต่ผลลัพธ์หรือความถูกผิดอย่างเดียวถือว่าไม่เหมาะสม
        เพราะอาจเป็นการสนับสนุนให้ผู้เรียนเลือกใช้วิธีการใดก็ได้เพื่อให้คำาตอบถูกต้อง เช่น ถามเพื่อนในกลุ่ม

        ก่อนหน้า หรือให้เพื่อนที่กระตือรือร้นมากที่สุดในกลุ่มเป็นผู้ตัดสินใจเพียงคนเดียว ดังนั้น การประเมิน
        กระบวนการในชั้นเรียนก็ควรถูกนำามาใช้ด้วย เช่น การประเมินการมีส่วนร่วมในห้องเรียน การประเมิน

        ทักษะการทำางานเป็นกลุ่ม หรือการประเมินกระบวนการการให้เหตุผลเมื่อแต่ละกลุ่มอภิปรายคำาตอบ




                                                  29
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37