Page 29 - 3_2023_journal
P. 29

3. เมื่อตอบคำาถามแล้วนักศึกษาพึงได้รับข้อมูลป้อนกลับ (feedback) ที่ดี
       กลไกก�รให้ข้อมูลป้อนกลับในก�รทำ�ข้อสอบ RAT มีสองประก�ร ได้แก่

         •  ระบบก�รให้ข้อมูลป้อนกลับทันที (Immediate Feedback Assessment Technique: IF-AT)
             ซึ่งเป็นก�รจัดให้ก�รตอบคำ�ถ�ม gRAT ในกระด�ษคำ�ตอบหรือระบบ mobile application ที่

             ส�ม�รถตอบสนองกับนักศึกษ�ได้โดยอัตโนมัติว่� ตัวเลือกที่นักศึกษ�เลือกเป็นคำ�ตอบที่เฉลยไว้ว่�
             ถูกต้องหรือไม่  โดยไม่จำ�เป็นต้องให้คำ�อธิบ�ยว่�เหตุใดตัวเลือกนั้นจึงถูกหรือผิด  ซึ่งเมื่อนักศึกษ�

             ได้ข้อมูลว่�คำ�ตอบที่ทีมของตนเลือกเป็นคำ�ตอบที่ผิด  สม�ชิกในทีมต้องทบทวนแนวท�งใน
             ก�รเลือกคำ�ตอบของตนว่�มีข้อบกพร่องตรงไหน  และห�ท�งแก้ไขแนวคิดให้ถูกต้องเพื่อที่จะได้

             เลือกตัวเลือกที่ดีขึ้น  ในขณะเดียวกันสม�ชิกในทีมอ�จเตรียมข้อมูล  ห�เหตุผลที่จะสนับสนุน
             ว่�คำ�ตอบที่ท�งทีมเลือกแต่แรกที่อ�จ�รย์เฉลยว่�ผิดนั้น จริง ๆ แล้วไม่น่�ผิด ซึ่งห�กนำ�ไปอภิปร�ย

             กับอ�จ�รย์แล้วอ�จส�ม�รถปรับเปลี่ยนเฉลยคำ�ตอบในภ�ยหลังได้
         •  ระบบก�รให้ข้อมูลป้อนกลับในขณะอภิปร�ยคำ�ตอบของ RAT ร่วมกับอ�จ�รย์ (class discussion)

             ถึงแม้ว่�เมื่อทำ�แบบทดสอบ gRAT เสร็จแล้ว นักศึกษ�ทุกทีมรู้แล้วว่�แต่ละข้อเฉลยคำ�ตอบว่�
             อย่�งไร  แต่อ�จยังมีคว�มไม่เข้�ใจในนักศึกษ�บ�งคน  บ�งทีมอ�จเลือกคำ�ตอบถูกแต่ไม่เข้�ใจว่�

             ถูกเพร�ะอะไร ในขณะที่บ�งทีมเลือกคำ�ตอบผิด แต่ก็ยังเชื่อว่�คำ�ตอบที่ตนเลือกไม่น่�ผิด ก�รเปิดโอก�ส
             ให้มีก�รอภิปร�ยคำ�ตอบของ RAT เป็นโอก�สที่จะเกิดก�รเรียนรู้ และแก้คว�มเข้�ใจผิด

             ในกลุ่มผู้เรียนได้อย่�งม�ก  ก�รให้ข้อมูลป้อนกลับและอธิบ�ยแนวคิดในก�รแก้ปัญห�แต่ละข้อ
             พึงทำ�โดยคำ�นึงถึงหลักสองประก�รต่อไปนี้

                       o  ก�รสร้�งบรรย�ก�ศในก�รอภิปร�ยที่ดี:  นักศึกษ�จะกล้�ที่จะแสดงคว�มเห็นเมื่อ
             บรรย�ก�ศไม่ตึงเครียด  อ�จ�รย์ไม่กดดัน  อ�จ�รย์เปิดใจรับฟังนักศึกษ�  และพร้อมจะอธิบ�ย

             ประเด็นสำ�คัญต่�ง ๆ ให้นักศึกษ�เข้�ใจโดยใช้คำ�พูดที่ให้เกียรติกับผู้เรียน อ�จ�รย์ส�ม�รถสร้�ง
             บรรย�ก�ศที่ดีในก�รอภิปร�ยโดยเริ่มต้นจ�กก�รชี้แจงว่�อ�จ�รย์ต้องก�รให้นักศึกษ�ร่วมแสดง

             คว�มเห็น  และอ�จ�รย์ยินดีรับฟังคว�มเห็นที่แตกต่�ง  และมีเป้�หม�ยอย�กให้นักศึกษ�ทุกคน
             ได้คว�มเข้�ใจที่ถูกต้องจ�กห้องเรียน  ขอให้นักศึกษ�ร่วมกันอภิปร�ย  โดยไม่ต้องเก็บคว�มงุนงง

             ไว้กับตัว
                       o   ก�รมีแนวคิดที่เปิดกว้�ง  ไม่ยึดติดกับคำ�เฉลยที่กำ�หนดไว้:  อ�จ�รย์ควรอภิปร�ยโดย

             พร้อมที่จะปรับเปลี่ยนเฉลยคำ�ตอบได้เสมอห�กนักศึกษ�มีก�รอธิบ�ยที่สมเหตุสมผล  แม้ว่�อ�จ
             ไม่ถูกตรงใจอ�จ�รย์ต�มคว�มตั้งใจตอนออกข้อสอบก็ต�ม  เนื่องจ�กห�กอ�จ�รย์ยึดติดว่�แต่ละข้อต้อง

             มีคำ�ตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำ�ตอบเดียวเท่�นั้น  ไม่ว่�นักศึกษ�จะอธิบ�ย  ยกเหตุผลม�ประกอบม�กน้อย
             เพียงใด อ�จ�รย์ก็จะยืนยันเฉลยต�มเดิม ผ่�นไปไม่น�นนักศึกษ�ก็จะเลิกอภิปร�ย เพร�ะนักศึกษ�

             จะรู้สึกว่�คว�มพย�ย�มคิด และอภิปร�ยของเข�ไม่เป็นผล ยังไงอ�จ�รย์ก็ไม่ฟัง และอ�จ�รย์
             ไม่เปิดใจกับแนวคิดของนักศึกษ�เลย


                                                  26
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34