Page 33 - 3_2023_journal
P. 33

06         หลักการเบื้องต้นคือ ให้ความสำาคัญกับการประเมินผลจากกระบวนการกลุ่ม กระบวนการที่ได้
                 1.2 สัดส่วนการประเมินผลจากหลากหลายแหล่งควรถูกคิดคะแนนในสัดส่วนที่เหมาะสม


          ประยุกต์ใช้ความรู้เป็นหลัก เนื่องจากการประเมินผลเช่นนี้จะสนับสนุนให้ผู้เรียนไม่เพียงแต่เตรียมตัว

          อ่านหนังสือแต่แยกกันทำาแบบฝึกหัดทีละข้อในห้องเรียน แต่จะเป็นการสนับสนุนให้ผู้เรียนสนใจใน
          กระบวนการของทีมมากขึ้น สนใจอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็นในห้องเรียนมากขึ้น แต่ก็ควรคงส่วน
          iRAT ไว้ด้วยเพื่อให้ผู้เรียนรับผิดชอบศึกษาความรู้ด้วยตนเองมาก่อน เช่น iRAT 10% gRAT 20%

          discussion 40% application exercise 30% peer assessment 10%
                 เนื่องจากตัวเลขในการตั้งสัดส่วนต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับบริบทที่คาบเรียนถูกนำาไปใช้เป็นหลัก สิ่ง

          ที่สำาคัญคือการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนเมื่อได้ออกแบบสัดส่วนการประเมินผล  และปรับเปลี่ยน
          ทีละเล็กน้อยหากผู้เรียนไม่แสดงพฤติกรรมที่คาดหวัง เช่น ผู้เรียนของอาจารย์สนใจซักถามอภิปราย
          ในชั้นเรียนดี แต่พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้ศึกษาบทเรียนล่วงหน้า แต่ให้เพื่อนส่วนน้อยที่ศึกษามา
 Assessment
 Assessment in  ก่อนอธิบายให้ฟังในช่วง gRAT อาจารย์สามารถพิจารณาเพิ่มสัดส่วนของ iRAT ได้ เช่น เพิ่ม iRAT
          เป็น 20% เป็นต้น
 Team-Based Learning
 Team-Based Learning
                   ใช้การประเมินโดยเพื่อน (peer assessment) ด้วยความระมัดระวัง
 นพ.ธิติพันธ์ ศรีกุลมนตรี     กระบวนการประเมินผล
 ศูนยความเป็นเลิศดานการศึกษาวิทยาศาสตรสุขภาพ คณะเเพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล  2 peer assessment ถือเป็นหนึ่งในส่วน
 ้
 ์
 ์
 ์
 แนวทางการประเมินใน Team-based learning  ประกอบของ team-based learning
        ที่มีข้อถกเถียงมากที่สุด เพราะเป็นรูปแบบการ
 การประเมินผลในการเรียน team-based learning เป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่มีความสำาคัญเพราะเป็น  ประเมินที่สามารถใช้บอกพฤติกรรมกลุ่มได้
 เสมือนการสื่อสารระหว่างอาจารย์กับผู้เรียนถึงวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในชั้นเรียนนั้น ๆ หากวิธีการประเมินผล  ดียิ่งกว่าการสังเกตจากอาจารย์ผู้สอนหลัก

 ในห้องเรียน team-based learning ถูกออกแบบอย่างเหมาะสม เชื่อได้ว่าผู้เรียนจะมีโอกาสในการเรียนรู้  หรืออาจารย์ประจำากลุ่ม  ประเมินได้ในหลาย
 และพัฒนาขึ้นตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้จากทุก ๆ กระบวนการที่จัดขึ้นใน team-based learning มากที่สุด   มิติไม่เพียงแต่การมีส่วนร่วม  แต่สามารถประเมิน

 ผ่านหลักการสำาคัญ 3 ประเด็นดังนี้  ทักษะกลุ่มอื่น เช่น ทักษะการสื่อสาร หรือเจตคติ

 ปรับแหล่งข้อมูล และสัดส่วนในการประเมินผลให้เหมาะสมอยู่เสมอ  เช่น ความรับผิดชอบได้ด้วย
 1    การที่กิจกรรมในรูปแบบการเรียนในห้องเรียนมีหลายขั้นตอน เช่น ใช้ข้อมูลจากทั้ง individual   อาจนำามาสู่ปัญหาที่พบได้บ่อย เช่น ผู้เรียนให้
 1.1 การประเมินผลใน team-based learning ควรใช้ข้อมูลหลากหลาย ซึ่งมาจาก
              อย่างไรก็ตามการใช้ peer assessment


 readiness assurance test (iRAT) group readiness assurance test (gRAT) รวมถึง  คะแนนที่ไม่น่าเชื่อถือ โดยให้คะแนนมากที่สุดแก่
 application exercise อย่างไรก็ตาม การประเมินแต่ผลลัพธ์หรือความถูกผิดอย่างเดียวถือว่าไม่เหมาะสม   เพื่อนทุกคนในกลุ่ม และหากบังคับให้ผู้เรียนให้
 เพราะอาจเป็นการสนับสนุนให้ผู้เรียนเลือกใช้วิธีการใดก็ได้เพื่อให้คำาตอบถูกต้อง เช่น ถามเพื่อนในกลุ่ม  คะแนนเพื่อนบางคนน้อย บางคนมาก ผู้เรียนอาจ

 ก่อนหน้า หรือให้เพื่อนที่กระตือรือร้นมากที่สุดในกลุ่มเป็นผู้ตัดสินใจเพียงคนเดียว ดังนั้น การประเมิน  ไม่พอใจหากเพื่อนทุกคนในกลุ่มมีส่วนร่วมเท่าเทียม
 กระบวนการในชั้นเรียนก็ควรถูกนำามาใช้ด้วย เช่น การประเมินการมีส่วนร่วมในห้องเรียน การประเมิน  และเหมาะสม เพื่อให้สามารถนำากระบวนการ peer

 ทักษะการทำางานเป็นกลุ่ม หรือการประเมินกระบวนการการให้เหตุผลเมื่อแต่ละกลุ่มอภิปรายคำาตอบ  assessment มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ขอแนะนำา
        หลักการเพิ่มเติมต่อไปนี้


                                                  30
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38