Page 28 - 3_2023_journal
P. 28

2. โจทย์ข้อสอบควรส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ผ่านการอภิปรายร่วมกัน
                ก�รเรียนรู้จะเกิดได้ดีที่สุดเมื่อนักศึกษ�ทุกคนร่วมกันคิด ร่วมกันเสนอคว�มเห็น และห�ข้อสรุปแนวท�ง

        แก้ปัญห�ไปด้วยกัน โจทย์ข้อสอบที่จะช่วยส่งเสริมให้นักศึกษ�ได้ร่วมกันอภิปร�ยควรเป็นข้อสอบที่ไม่ส�ม�รถห�
        คำ�ตอบได้จ�กก�รค้นตำ�ร�หรือเอกส�รประกอบ หรือห�ข้อมูลจ�ก internet แต่ต้องเป็นข้อสอบที่อ�ศัย

        คว�มรู้จ�กตำ�ร�หรือเอกส�รประกอบเป็นพื้นฐ�นที่ต้องวิเคร�ะห์และประยุกต์คว�มรู้ดังกล่�วต่อเพื่อห�
        คำ�ตอบ ลักษณะโจทย์ที่ควรใช้มีลักษณะดังนี้

           •  สร้�งโจทย์ที่เป็นปัญห�ในชีวิตจริง เป็นคนไข้ที่เจอได้ในเวชปฏิบัติจริง
           •  เลือกโจทย์ปัญห�ที่มีคว�มซับซ้อน ก�รแก้ปัญห�ต้องคำ�นึงถึงปัจจัยหล�ยด้�น มีเงื่อนไขที่อ�จ

               ไม่ตรงไปตรงม� ที่ทำ�ให้ก�รแก้ปัญห�แบบหยิบเอ�คำ�ตอบจ�กตำ�ร�ม�ใช้เลยทำ�ไม่ได้
           •  ควรใช้โจทย์เป็น  multiple-choice  questions  ให้นักศึกษ�เลือกคำ�ตอบที่เหม�ะสมที่สุดจ�ก

               ตัวเลือกที่กำ�หนด เนื่องจ�กก�รแก้ปัญห�ที่ซับซ้อนมักมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องหล�ยด้�น ห�กอ�จ�รย์
               ให้โจทย์แก่นักศึกษ�แล้วให้ตอบโดยเขียนบรรย�ย  นักศึกษ�มักส�ม�รถเลี่ยงที่จะไม่แสดง

               คว�มไม่รู้  คว�มไม่เข้�ใจ  ไม่ยอมบอกก�รแก้ปัญห�ที่ชัดเจน  โดยก�รเขียนอธิบ�ยว่�ไม่
               ตัดสินใจ  เนื่องจ�กขอให้ไปดูปัจจัยด้�นนั้นด้�นนี้เพิ่ม  หรือเลือกที่จะกำ�หนดเงื่อนไขที่ทำ�ให้ตน

               ได้คำ�ตอบโดยง่�ย เลี่ยงไม่ไปท�งที่มีคว�มซับซ้อนที่ต้องวิเคร�ะห์เยอะกว่�
           •  ควรพิจ�รณ�สร้�งโจทย์บ�งส่วนที่เป็นประเด็นที่มีข้อสรุปไม่ชัดเจน  (controversy)  ที่แนวท�ง

               แก้ปัญห�ในตำ�ร�หรือองค์กรวิช�ชีพอ�จยังเห็นไม่ตรงกัน  ซึ่งจะทำ�ให้นักศึกษ�เกิดก�รถกเถียง
               กันว่�อะ ไรคือสิ่งที่ควรทำ�กันแน่  ซึ่งในระหว่�งที่เกิดก�รถกเถียงนี้เองที่จะทำ�ให้นักศึกษ�พัฒน�

               คว�มเข้�ใจในเนื้อห�ดังกล่�วได้ดีขึ้น
           •  ตัวเลือกในโจทย์บ�งข้อ อ�จ�รย์ส�ม�รถตั้งใจให้มีคำ�ตอบที่ส�ม�รถเลือกเป็นคำ�ตอบที่ถูกได้ม�กกว่�

               หนึ่งตัวเลือกก็ได้ ตรงนี้จะเป็นแนวท�งที่แตกต่�งไปจ�กข้อสอบปรนัยที่มีก�รใช้ในก�รสอบ
               summative assessment เนื่องจ�กในก�รสอบเก็บคะแนน อ�จ�รย์ต้องก�รให้เกิดคว�มชัดเจนว่�

               ตัวเลือกนี้ถูกต้องเหม�ะสมที่สุดตัวเลือกเดียว นำ�ไปสู่ก�รตัดสินให้คะแนนได้ชัดเจน แต่ในก�รเรียน TBL
               ห�กต้องก�รให้เกิดก�รแลกเปลี่ยนคว�มเห็นกันในกลุ่มนักศึกษ� ก�รทำ�ให้มีคำ�ตอบที่ถูกม�กกว่�

               หนึ่งข้อเป็นกลวิธีที่ช่วยให้ก�รเรียนมีสีสันและนักศึกษ�ได้เรียนรู้ม�กขึ้น



















                                                  25
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33