Page 27 - 3_2023_journal
P. 27

2        การทำาการทดสอบรายบุคคล              3         การทำาการทดสอบเป็นทีม



                เมื่อนักศึกษ�เข้�ม�ในห้องเรียน  TBL  กิจกรรม    เมื่อหมดเวล�ทำ�ข้อสอบ iRAT และนักศึกษ�ทุก
        แรกที่นักศึกษ�จะทำ�คือก�รทำ�ข้อสอบ  multiple-choice  คนส่งคำ�ตอบแล้ว  นักศึกษ�แต่ละทีมจะทำ�ง�นกลุ่มใน

        questions  ที่มีเนื้อห�ครอบคลุมประเด็นที่นักศึกษ� ก�รห�คำ�ตอบของข้อสอบ multiple-choice question
        ได้เรียนรู้จ�กเอกส�รอ่�นประกอบและสื่อก�รสอน ชุดเดิม (group Readiness Assurance Test: gRAT)

        ที่มอบหม�ยให้ไปเรียนด้วยตนเองก่อนถึงค�บเรียน  โดยกระบวนก�รตอบจะมีกลไกให้ข้อมูลป้อนกลับ
        โดยจะทำ�ข้อสอบร�ยบุคคล  (individual Readiness  แก่นักศึกษ�ทันทีว่�ตอบถูกหรือผิด  (Immediate

        Assurance Test: iRAT)  กระบวนก�รนี้เป็นกลไก Feedback  Assessment  Technique:
        สำ�คัญที่ช่วยกำ�กับให้นักศึกษ�ทุกคนศึกษ�บทเรียน IF-AT)  ซึ่งอ�จทำ�โดยใช้กระด�ษคำ�ตอบที่ใช้ก�ร

        ด้วยตนเองม�ก่อน เพร�ะห�กไม่ศึกษ�ม�ก่อน ก็จะ ขูดดูสัญลักษณ์ที่อยู่หลังแถบทึบแสง  ซึ่งสัญลักษณ์ที่
        เสียคะแนนจ�กก�รทำ�ข้อสอบ    iRAT    ไปโดยไม่มี ปร�กฏทำ�ให้นักศึกษ�รู้ได้ว่�ที่ตอบคำ�ตอบนั้น

        เพื่อนคนไหนช่วยได้    ก�รพัฒน�ข้อสอบที่จะใช้ใน ถูกหรือไม่ หรือจะใช้เป็นก�รตอบผ่�น mobile device
        ห้องเรียน  TBL  เพื่อส่งเสริมให้เกิดก�รเรียนรู้ที่สนุก ด้วย  application  ที่ออกแบบให้แสดงผลว่�ตอบ

        และมีประสิทธิภ�พ                              ถูกหรือผิดได้ทันทีเมื่อนักศึกษ�เลือกคำ�ตอบแล้ว
                                                      โดยยิ่งใช้จำ�นวนครั้งของก�รตอบม�กขึ้นคะแนน
                                                      ที่ทีมจะได้ก็จะลดลงไปเรื่อยๆ









        ในที่นี้ผู้เขียนขอให้คำ�แนะนำ�ในก�รสร้�งข้อสอบ RAT ที่จะส่งเสริมก�รเรียนรู้ใน TBL มีหลักพื้นฐ�นดังนี้
                1. โจทย์ข้อสอบควรส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิกในทีม

                ก�รที่นักศึกษ�ในแต่ละทีมจะทำ�ง�นร่วมกันได้ดี ก�รออกแบบวิธีก�รทำ�ข้อสอบก็มีส่วนสำ�คัญ อ�จ�รย์
        ควรกำ�หนดให้ม�ทำ�ข้อสอบกันในห้องเรียน  ไม่ควรสร้�งแบบทดสอบที่แจกให้นักศึกษ�ไปทำ�กันม�ให้เสร็จ

        ก่อนเข้�ห้องเรียน  เพร�ะจะส่งเสริมให้นักศึกษ�แบ่งง�นกันไปทำ�กันคนละส่วน  แต่ละคนก็จะรู้เรื่องเฉพ�ะ
   T    เรื่องที่ตนไปศึกษ�ม� นักศึกษ�ทุกคนพึงม�เห็นข้อสอบพร้อมกันในห้องเรียน


   B            นอกจ�กนี้ลักษณะของข้อสอบก็สำ�คัญเช่นกัน ข้อสอบที่ส่งเสริมก�รแลกเปลี่ยนคว�มเห็น เรียนรู้ไป

   L    ด้วยกันจะเป็นข้อสอบที่เน้นก�รประเมินคว�มรู้  คว�มส�ม�รถในก�รวิเคร�ะห์และตัดสินใจ  ดังนั้นอ�จ�รย์
        ควรเลี่ยงก�รนำ�ข้อสอบวัดคว�มจำ�  (simple  recall)  ม�ถ�ม  เพร�ะนักศึกษ�จะแค่กดโทรศัพท์ห�ข้อมูล
        ที่ต้องก�รแล้วก็ตอบเลย  โดยไม่ต้องแลกเปลี่ยนคว�มเห็น  ซึ่งจะไม่เกิดก�รเรียนรู้ที่มีประสิทธิภ�พม�กนัก

        ระหว่�งที่นักศึกษ�กำ�ลังทำ�ข้อสอบ gRAT ก็ควรมีอ�จ�รย์คอยสอดส่องดูพฤติกรรมก�รทำ�ง�นของแต่ละทีม
        ห�กอ�จ�รย์เห็นว่�ในทีมใดมีคนแยกตัว ไม่ช่วยง�น ก็ควรเข้�ไปสอบถ�มและกระตุ้นให้นักศึกษ�ทุกคนช่วย
        กันอภิปร�ย
                                                  24
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32