Page 9 - Journal 2-2021
P. 9

ความีที่้าที่ายัในการึจัดการึเรึ่ยันการึสอน  การึวางแผนการึจัดการึเรึ่ยันการึสอนให้้มี่ป็รึะสิที่ธิิภาพู

              ปัญห�ที่มักจะพบบ่อยครั้ง ได้แก่ การเลือกผู้ป่วยที่  1.  ก่อนคาบเรึ่ยัน  ควรเตรียมความพร้อมกับผู้เรียนโดยแจ้ง
       มักนิยมเลือกเฉพาะผู้ป่วยรายใหม่ที่ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยมา  ขอบเขต  เนื้อหาที่จะทำาการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้เตรียมตัว
       ก่อนเท่านั้น  ซึ่งในความเป็นจริงแล้วไม่จำาเป็นเสมอไปเนื่องจาก  มาก่อนล่วงหน้า  สำาหรับกรณีผู้ป่วยนอกโรคทั่วไป  เนื้อหาทฤษฎี
       ในเวชปฏิบัติจริงก็มีโอกาสได้พบทั้งผู้ป่วยเก่าและผู้ป่วยใหม่  ที่ควรเตรียมตัวมาก่อนได้แก่อาการวิทยาและแนวทางการตรวจ
       ปะปนกัน  สำาหรับผู้ป่วยรายเก่า  อาจแนะให้ผู้เรียนทำาการ  วินิจฉัยโรคที่พบบ่อยของผู้ป่วยนอก  ส่วนกรณีผู้ป่วยนอกเฉพาะโรค
       ทบทวนข้อมูลผู้ป่วยในประเด็นต่าง  ๆ  คือ  การวินิจฉัยที่ผู้ป่วย   ควรเตรียมตัวอ่านเนื้อหาเกี่ยวกับแนวทางการตรวจวินิจฉัยกลุ่มโรค
       ได้รับมาถูกต้องแล้วหรือไม่  ด้วยข้อมูลหรือเกณฑ์การวินิจฉัย  เฉพาะนั้น  ๆ  แนวทางในการประเมินความรุนแรงและการติดตาม
       อะไร  ผู้ป่วยได้รับการรักษาอะไรมาแล้วบ้าง  สอดคล้องกับ  ผลการรักษา  เพื่อให้การเรียนในคาบสามารถใช้เวลาในการเชื่อมโยง
       ระดับความรุนแรงตามทฤษฎีหรือกับแนวทางเวชปฏิบัติหรือไม่   ระหว่างทฤษฎีกับเวชปฏิบัติจริงได้เต็มที่ไม่ต้องสอนทฤษฎีซำ้า
       ผลการรักษาด้วยวิธีการดังกล่าวเป็นอย่างไร  มีภาวะแทรกซ้อน  2.  เมีื�อเรึิ�มีต้้นคาบ  ผู้สอนควรซักซ้อมทำาความเข้าใจกับผู้เรียน
       จากโรคหรือจากการรักษาบ้างหรือไม่  เป็นต้น  ซึ่งสามารถ  โดยเฉพาะข้อจำากัดในด้านเวลา  ซึ่งโดยมากแล้วทำาให้ไม่สามารถซัก
       ทำาให้ผู้เรียนได้เชื่อมโยงข้อมูลผู้ป่วยเข้ากับทฤษฎีที่ได้ศึกษา   ประวัติและตรวจร่างกายอย่างละเอียดทุกระบบ  แต่ต้องเป็นการ
       มาก่อนหน้าแล้วได้เช่นเดียวกัน                เน้นตามปัญหาของผู้ป่วย  เมื่อเชิญผู้ป่วยเข้าห้องตรวจ  ควรแนะนำา
              ปัญห�ถัดม�  ได้แก่  ความร่วมมือของผู้ป่วยเพื่อมา  ให้ผู้ป่วยได้รู้จักกับผู้เรียนและให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยว่าจะได้รับการ
       เป็นกรณีศึกษา  โดยทั่วไปแล้วผู้ป่วยมักจะยินดีเป็นส่วนหนึ่ง  ตรวจและรักษาภายใต้การกำากับดูแล และในระหว่างที่ผู้เรียนทำาการ
       ของกระบวนการเรียนการสอน  แต่ผู้สอนอาจทำาให้ผู้ป่วยรู้สึก  ตรวจผู้ป่วย ควรทำาการสังเกตผู้เรียนเกี่ยวกับกระบวนการซักประวัติ
       มีส่วนร่วมมากขึ้นได้โดยในขณะทำาการอภิปรายปัญหาผู้ป่วย   ตรวจร่างกาย  และการสื่อสารกับผู้ป่วยเพื่อให้คำาแนะนำาป้อนกลับ
       พยายามใช้คำาศัพท์ต่าง ๆ ที่เป็นศัพท์เฉพาะให้น้อยที่สุดและมุ่ง  โดยอาจให้คำาแนะนำาในขณะนั้น  หรือในช่วงท้ายคาบก็ได้  ทั้งนี้หาก
       ให้ผู้ป่วยได้ฟังและเข้าใจไปพร้อมกัน จะช่วยลดความอึดอัดของ  ทำาในขณะมีผู้ป่วยอยู่ด้วย  พึงปฏิบัติกับผู้เรียนเสมือนเป็นหนึ่งในทีม
       ผู้ป่วยลงได้                                 ผู้ให้การดูแลรักษาเพื่อรักษาความมั่นใจของผู้ป่วยอยู่เสมอ
              ปัญห�สุดท้�ยที่พบบ่อย  คือไม่มีเวลาในการสรุป  3.  ห้ลิังจากที่่�ผู้เรึ่ยันได้ต้รึวจผู้ป็่วยั  โดยผ่านการซักประวัติ
       และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สะท้อนคิดในตอนท้าย  ซึ่งทำาให้เสีย  ตรวจร่างกายและนำาเสนอข้อมูลผู้ป่วยแล้ว  ผู้สอนควรเริ่มต้นการ
       โอกาสในการสรุปประเด็นในการเรียน  ซึ่งโดยทั่วไปแนะนำาให้  อภิปรายด้วยการตั้งคำาถามและให้ผู้เรียนเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการ
       อาจารย์เตรียมเวลาส่วนหนึ่งไว้เพื่อทำาขั้นตอนนี้โดยเฉพาะ  แต่  วินิจฉัยและ/หรือการรักษาผู้ป่วยโดยอ้างอิงจากทฤษฎีที่ได้ศึกษามา
       หากไม่สามารถทำาได้  ก็อาจให้ผู้เรียนได้สะท้อนคิดออกมาใน  แต่ไม่จำาเป็นต้องทำาการทบทวนทฤษฎีทั้งหมด   ชี้ประเด็นผู้เรียน
       รูปของการเขียนเป็นข้อความส่งให้กับผู้สอน  และมีการโต้ตอบ  สามารถตอบได้ถูกต้อง  และประเด็นความรู้ที่ยังไม่ถูกต้องหรือยังไม่
       กันผ่านระบบ e-learning ก็ได้ แต่หากเลือกวิธีนี้ไม่ควรทิ้งช่วง  ครบถ้วนพร้อมทั้งแนะนำาประเด็นที่ควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผู้ป่วย
       เวลาหลังสิ้นสุดการเรียนในคาบนานเกินไป  เนื่องจากจะทำาให้  รายนั้นด้วย
       ลืมรายละเอียดต่าง ๆ ได้                      4. เมีื�อสิ้นส้ดคาบเรึ่ยัน       ผู้สอนควรให้ผู้เรียนได้สะท้อนคิดเกี่ยวกับ
                                                    สิ่งที่ได้เรียนไปโดยอาจตั้งคำาถามกว้าง  ๆ  ที่สอดคล้องกับทฤษฎีการ
                                                    เรียนรู้จากประสบการณ์ เช่น ในคาบเรียนนี้ผู้เรียนได้รับความรู้อะไร
                                                    บ้างที่เป็นความรู้หรือข้อมูลใหม่  ความรู้หรือข้อมูลใหม่นี้สอดคล้อง
                                                    หรือขัดแย้งกับสิ่งที่เคยทราบหรือเรียนรู้มาก่อนหน้านี้หรือไม่อย่างไร
                                                    และหากมีโอกาสได้ตรวจรักษาผู้ป่วยที่มีลักษณะคล้ายกันจะ
                                                    วางแผนในการวินิจฉัยหรือดูแลรักษาผู้ป่วยเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
                                                    เป็นต้น

                การึจัดการึเรึ่ยันการึสอนที่่�แผนกผู้ป็่วยันอก  มี่ความีสำาคัญแลิะมี่ป็รึะโยัช้น์ในการึสรึ้างป็รึะสบการึณ์ที่าง
         คลิินิกเป็็นอยั่างมีาก  แมี้ว่าจะมี่ข้อจำากัดบางป็รึะการึเช้่น  ในด้านเวลิา  สถึานที่่�  แลิะช้นิดของโรึคที่่�ใช้้เป็็นกรึณ่ศึึกษา
         แต้่การึวางแผนเต้รึ่ยัมีการึแลิะการึเลิือกผู้ป็่วยัที่่�เห้มีาะสมีจะช้่วยัที่ำาให้้เกิดการึเรึ่ยันรึู้ที่่�ด่สำาห้รึับผู้เรึ่ยันได้  โดยัเฉพูาะ
         อยั่างยัิ�งห้ากในคาบเรึ่ยันแลิะที่้ายัคาบมี่การึอภิป็รึายัให้้ข้อเสนอแนะแลิะมี่การึสะที่้อนคิดโดยัผู้เรึ่ยันรึ่วมีด้วยั
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14