Page 8 - Journal 2-2021
P. 8

Effective ambulatory teaching


   เทคนิิคการสอนิท่�แผนิกผ้�ป่่วยนิอกให้�มี่ป่ระสิทธิิภาพ


                                            อ. นพ.สันติ สิลัยรัตน์
                    ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
                                       มหาวิทยาลัยนวมินทราธิิราช







            ป็ัจจ้บันการึจัดการึดูแลิรึักษาผู้ป็่วยัมี่แนวโน้มีที่่�จะให้้ความี
     สำาคัญกับการึดูแลิผู้ป็่วยัแบบผู้ป็่วยันอกมีากขึ�น  เพูื�อเป็็นการึเพูิ�มี

     ป็รึะสิที่ธิิภาพูแลิะลิดค่าใช้้จ่ายั         ผู้ป็่วยัที่่�มี่โรึคแลิะความีผิดป็กต้ิบางอยั่าง
     ที่่�พูบได้บ่อยัในเวช้ป็ฏิบัต้ิแลิะอาการึไมี่รึ้นแรึง  มีักจะได้รึับการึดูแลิ
     ที่่�แผนกผู้ป็่วยันอก   การึจัดป็รึะสบการึณ์การึเรึ่ยันรึู้ที่่�แผนก
     ผู้ป็่วยันอกจึงเป็็นสิ�งจำาเป็็น ซึ่ึ�งแมี้ว่าอาจมี่ข้อจำากัดอยัู่ห้ลิายัป็รึะการึ

     แต้่ห้ากมี่การึวางแผนแลิะจัดการึที่่�เห้มีาะสมี   ก็จะที่ำาให้้การึเรึ่ยันการึ
     สอนดำาเนินไป็ได้อยั่างมี่ป็รึะสิที่ธิิภาพูแลิะเกิดป็รึะโยัช้น์อยั่างเต้็มีที่่�


         ข้อด่แลิะข้อจำากัดของการึสอนที่่�แผนกผู้ป็่วยันอก


                   ข้อดีที่สำ�คัญได้แก่   ได้เรียนรู้ลักษณะของโรค  ข้อจำ�กัดที่สำ�คัญ   คือเรื่องเวลาและสถานที่
                   และความผิดปกติต่าง ๆ ที่อาจไม่พบในผู้ป่วยใน    เนื่องจากโดยทั่วไปแล้วผู้ป่วยมักมีจำานวนมากจึง
                   ได้เรียนรู้จากผู้ป่วยที่มาติดตามการรักษาหลัง   ไม่เอื้ออำานวยต่อการซักประวัติและตรวจร่างกาย
                   ออกจากโรงพยาบาลแล้ว  และได้ศึกษาวิธีการ        อย่างละเอียดทุกระบบการเลือกกรณีศึกษา
                   บริหารจัดการดูแลผู้ป่วยที่แตกต่างไปจากการ      ผู้ป่วยที่เหมาะสมสำาหรับการสอนที่ OPD
                   ดูแลแบบผู้ป่วยใน เป็นต้น



                                            การึเลิือกผู้ป็่วยัที่่�เห้มีาะสมีสำาห้รึับการึสอนที่่� OPD

                                                โดยทั่วไปแล้วควรเลือกผู้ป่วยที่มีความพร้อม   สามารถตอบคำาถามและให้
                                         ประวัติได้  และไม่มีข้อจำากัดด้านเวลาสำาหรับคาบการเรียนการสอน  เช่นไม่เป็นผู้งด
                                         อาหาร และนำ้ามาเพื่อรอการตรวจ หรือมีนัดหมายการตรวจกับแพทย์ท่านอื่นต่อ เป็นต้น
                                         ส่วนในแง่ของการเลือกโรคของผู้ป่วยเพื่อมาทำาการเรียนการสอน  ในทางปฏิบัติอาจเป็น
                                         ผู้ป่วยนอกโรคทั่วไปหรือผู้ป่วยนอกเฉพาะโรค  ซึ่งมีความแตกต่างกันคือ  กรณีที่เป็นโรค
                                         ทั่วไปจะมีผู้ป่วยที่มีอาการหรือโรคสำาหรับการเรียนรู้ที่หลากหลาย   และหาผู้ป่วยที่เป็น
                                         ผู้ป่วยใหม่ยังไม่ได้รับการวินิจฉัยได้ง่าย  ในขณะที่กรณีเป็นผู้ป่วยนอกเฉพาะโรค  (เช่น
                                         ผู้ป่วยนอกศัลยกรรมประสาท  หรือผู้ป่วยนอกโรคต่อมไร้ท่อ  เป็นต้น)  จะมีความหลาก
                                         หลายน้อยกว่า  และมักจะได้รับการวินิจฉัยและรักษามาแล้ว  อย่างไรก็ตามยังสามารถ

           6                             จัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้ด้วยการวางแผนที่เหมาะสม  โดยควรเป็นกลุ่มโรคที่อยู่ใน
                                         ขอบเขตการเรียนรู้ของผู้เรียน
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13