Page 70 - 3_2023_journal
P. 70

11                                    Educational
                                                Educational

                                                    movement
                                                    movement






























        รศ. ดร. นพ.เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์

        ผู้อำ�นวยก�รศูนย์คว�มเป็นเลิศด้�นก�รศึกษ�วิทย�ศ�สตร์สุขภ�พ คณะเเพทยศ�สตร์ศิริร�ชพย�บ�ล มห�วิทย�ลัยมหิดล

              จ�กเนื้อห�ที่ท่�นผู้อ่�นได้เห็นจ�กในบทคว�มฉบับนี้  จะเห็นได้ว่�ก�รจัดก�รเรียนรู้ด้วยกระบวนก�ร
      ทำ�ง�นเป็นทีม (Team-based learning: TBL) เป็นกิจกรรมก�รเรียนรู้ที่มีประโยชน์ ทำ�ได้ไม่ย�กนัก

      และส่งผลดีอย่�งม�กต่อผู้เรียน  ทิศท�งก�รจัดก�รเรียนก�รสอนในโรงเรียนวิทย�ศ�สตร์สุขภ�พในปัจจุบัน
      และอน�คตพึงมีก�รจัดก�รเรียนก�รสอนในรูปแบบนี้ม�กขึ้น ในบทคว�มนี้ผู้เขียนขอเสนอแนะแนวท�งที่โรงเรียน

      วิทย�ศ�สตร์สุขภ�พส�ม�รถใช้ว�งแนวท�งในก�รส่งเสริม และพัฒน�คุณภ�พก�รจัดก�รเรียนรู้ในรูปแบบ TBL
      ให้มีประสิทธิภ�พในบริบทของโรงเรียนวิทย�ศ�สตร์สุขภ�พในประเทศไทย

        1   การจัดสรรเนื้อหาที่เหมาะสมให้นักศึกษาเรียนด้วย TBL ในสัดส่วนที่เพิ่มมากขึ้น



            หลักสูตรวิทย�ศ�สตร์สุขภ�พแต่ดั้งเดิมเน้นก�รสอนในรูปแบบ passive learning ค่อนข้�งม�ก ทิศท�ง
      ก�รปรับเปลี่ยนท�งก�รศึกษ�ที่มีหลักฐ�นสนับสนุนอย่�งชัดเจนคือต้องจัดก�รสอนในแบบ active learning

      ม�กขึ้น TBL ก็จัดเป็นก�รจัดประสบก�รณ์เรียนรู้ที่เหม�ะสมต�มหลัก active learning วิธีก�รหนึ่ง โรงเรียน
      วิทย�ศ�สตร์สุขภ�พพึงว�งแผนเพื่อเพิ่มสัดส่วนก�รเรียนก�รสอนด้วย TBL ให้ม�กขึ้น อย่�งไรก็ดี เนื้อห�

      ท�งก�รแพทย์และวิทย�ศ�สตร์สุขภ�พมีม�กม�ย ไม่ใช่ทุกเนื้อห�จะเหม�ะแก่ก�รทำ TBL ทั้งหมด ผู้ดูแล
      หลักสูตรพึงไตร่ตรองอย่�งถี่ถ้วนในก�รจัด TBL ให้เหม�ะกับเนื้อห� ซึ่ึ่งปัจจัยสำคัญในก�รจัดสรรคือผลลัพธ์

      ก�รเรียนรู้ (learning outcomes) ที่ต้องก�รของค�บเรียนนั้น


                                                  67
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75