Page 67 - 3_2023_journal
P. 67

ในท�งก�รศึกษ�ปัจจัยที่ส่งเสริม   Peer assessment


 intrinsic motivation มี 3 ประก�ร ได้แก่     เป็นการประเมินที่ผู้เรียนประเมินผู้เรียน

        (เพื่อนร่วมชั้น) ด้วยกันเอง การประเมินรูปแบบ
 1.คว�มอย�กรู้อย�กเห็น   3.คว�มเชื่อมั่นในศักยภ�พของตนเอง   นี้เหมาะกับการประเมินเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้
 (curiosity)  (self-efficacy belief)  (assessment  for  learning)  มากกว่า

    ผู้เรียนมักจะให้ความสนใจกับสิ่งที่     ผู้เรียนจะทำาในสิ่งที่ตนเองเชื่อมั่นว่า  เพื่อตัดสินผล  (assessment  of  learning)
 ตนเองยังไม่รู้  หากผู้สอนเลือกหัวข้อหรือโจทย์  ทำาได้  หากผู้สอนพูดคุยหรือจัดกิจกรรมบางอย่าง  สถานการณ์ที่เหมาะในการใช้ peer assessment
 ผู้ป่วยที่น่าสนใจ  มีประเด็นทางสังคม  ผู้เรียน  ที่สนับสนุนว่าผู้เรียนมีความสามารถดังกล่าว    ควรมีองค์ประกอบ 3 ประการ ได้แก่

 จะรู้สึกอยากเรียนรู้  อยากอภิปรายแสดงความ   ผู้เรียนจะสนใจในการเรียนหรือการทำากิจกรรม
 คิดเห็น  มากขึ้น เช่น  1.เพื่อนร่วมชั้นต้องอยู่สถานการณ์ที่สามารถ

 1) การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนลองทำาแล้วผู้เรียน  สังเกตสิ่งที่ต้องการประเมินได้
 2.เป้�หม�ยของชีวิต   สามารถทำาได้สำาเร็จ เช่น การสอนเย็บแผลแล้วผู้  2.เพื่อนร่วมชั้นสามารถรับรู้และประเมิน

 (goal and goal orientation)
 เรียนสามารถเย็บได้เอง  คุณลักษณะได้ตรงตามที่ผู้มอบหมาย
    ผู้เรียนจะให้ความสำาคัญกับสิ่งที่  2) การแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนคนอื่น (เพื่อน) ที่มี  (อาจารย์) ตั้งใจให้ประเมิน
 สอดคล้องกับเป้าหมายระยะยาวที่ได้วางเอาไว้   ความสามารถใกล้เคียงกันทำาได้  3.ผู้เรียนมีทัศนคติที่อยากจะพัฒนาสิ่งที่กำาลัง

 เช่น  ผู้เรียนอยากเป็นหมอ  หากผู้สอนสามารถชี้  3) การพูดเชิญชวนโดยผู้สอนว่าผู้เรียนคนนั้น  ประเมิน
 ให้เห็นว่าการเรียนประเด็นนี้จะช่วยให้เขาพัฒนา  สามารถทำาได้

 ตนเองเป็นหมอที่ดี  หมอที่เก่งได้อย่างไร  ผู้เรียน  4) การสร้างบรรยากาศที่ไม่กดดัน     Peer assessment มีจุดเด่นและจุดที่ต้องพึงระวังดังนี้
 จะสนใจในการเรียนมากยิ่งขึ้น
                       จุดเด่น

         - สามารถประเมินในสถานการณ์ที่ไม่ได้มีผู้สอนอยู่ด้วย ตลอดเวลา เช่น การปฏิบัติงานในหอผู้ป่วย
         - ผู้เรียนสามารถได้รับ feedback จากเพื่อนได้อย่างต่อเนื่อง

         - สามารถประเมินคุณลักษณะบางอย่างที่ให้ผู้เรียนประเมินกันเองจะมีความเหมาะสมมากกว่า
         เช่น การทำางานเป็นทีม
         - ในบางครั้งการประเมินโดยเพื่อนทำาให้ผู้เรียนรู้สึกเปิดใจมากกว่าและมีความเครียดน้อยกว่า




                      จุดที่ต้องพึงระวัง
         - ต้องเลือกสถานการณ์ที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ในการใช้ peer assessment

         - ต้องสร้างเครื่องมือที่มีคุณภาพดีในด้านของ validity และ reliability นอกจากนี้ยังต้องเหมาะ
         สำาหรับผู้ใช้ซึ่งคือผู้เรียน

         - ควรมีการประเมินโดยเพื่อนหลายคนเพื่อเพิ่ม reliability
         - ผู้ประเมิน (เพื่อนร่วมชั้น) ต้องศึกษาแนวทางการประเมินและเครื่องมือเพื่อที่จะทำาให้ความตรง
         (validity) ของการประเมินสูงขึ้น


                                                  64
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72