Page 47 - Journal 11
P. 47

ระยะที่ี� 4 การนำาที่ักษะไป็ใช้้และการติิดติามด้วย part-task trainer
                หลังจากผู้�านเร่ยนร่้ที่ักษะหัติถการในหุ�นจำาลองแล้ว ผู้่้เร่ยนจะสามารถนำาที่ักษะนั�นไปัปัฏิิบััติิกับัผู้่้ปั่วยจริงได้้
         อย�างไรก็ติามหากเวลาผู้�านไปัโด้ยไม�ม่โอกาสที่่�ผู้่้เร่ยนได้้ที่ำาหัติถการนั�นอ่กเลย อาจเกิด้ภาวะ “deskilling” หรือ
         ความถด้ถอยของที่ักษะนั�น ซึ่ึ�งผู้่้เร่ยนที่่�ปัระสบัการณ์์น้อยจะเกิด้ภาวะน่�ได้้เร็วกว�าผู้่้ที่่�ม่ปัระสบัการณ์์มาก ด้ังนั�นจึงม่ความ
         สำาคัญที่่�ติ้องม่การฝึึกฝึนหัติถการนั�นซึ่ำ�าเปั็นระยะเพิื�อให้กลับัมาเช้่�ยวช้าญในที่ักษะนั�นอ่กครั�ง (re-skilling) นอกจากน่�ใน
         ระหว�างที่่�ไม�ม่การฝึึกหรือปัฏิิบััติิในสถานการณ์์จริง ผู้่้เร่ยนติ้องฝึึกฝึนการคิด้ที่บัที่วนในมโนภาพิ (mental imagery
         practice) โด้ยคิด้ภาพิขณ์ะที่ำาที่ักษะนั�นที่่ละขั�นและพิิจารณ์าว�าตินม่ปััญหาหรือไม�อย�างไร ขั�นติอนที่่�ถ่กติ้องควรเปั็นอย�างไร







               การพื่ัฒนาที่ักษะหัติถการด้วย part-task trainer นั�นช้่วยพื่ัฒนาที่ั�งองคิ์คิวามรู้และคิวาม
        สามารถขึ้องผูู้้เรียนได้จัริง รวมถ้งเป็็นวิธีีที่ี�ได้รับการยอมรับอย่างมากที่ั�งผูู้้เรียนและผูู้้สอน ส่วนสำาคิัญ
        ที่ี�ส่ดขึ้องการนำาวิธีีนี�มาใช้้คิ่อ ติัวผูู้้สอนนั�นเอง ที่ี�ติ้องมีการเติรียมการอย่างดีที่ั�งเน่�อหาและส่�อการสอน

        การดำาเนินการสอนที่ี�ติ้องให้เวลาเพื่่�อสังเกติ วิเคิราะห์พื่ฤติิกรรมและให้ขึ้้อมูลป็้อนกลับ รวมถ้ง
        การสร้างและเสริมแรงจัูงใจัผูู้้เรียนติั�งแติ่ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน เป็็นผูู้้ป็ระเมินผู้ลเพื่่�อ

        ให้มั�นใจัว่าผูู้้เรียนมีคิวามสามารถในที่ักษะนั�นจัริง รวมถ้งการติิดติามการนำาที่ักษะไป็ใช้้จัริงเป็็นระยะ
        เพื่่�อให้มั�นใจัว่าผูู้้เรียนมีที่ักษะที่ี�สำาคิัญนั�นติิดติัวไป็อย่างแที่้จัริงในระยะยาว



























                      รูป็ที่ี� 2 หุ�นจำาลองสำาหรับัการผู้�าฝึีและผู้�าติัด้ไฝึที่่�ผู้ลิติขึ�นจากแผู้�นหนังฝึึกเย็บัที่่�ใช้้แล้ว










                                                                                              47
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52