Page 38 - Journal 10
P. 38

ติัวอย่างริะบบอาจาริย์ทัี�ป็ริ่กัษา

                 คณะแพทยศึาสตร์โรงพยาบาลรามาธิิบด้ีได้้เริ�มระบบอาจารย์ที�ปรึกษา  (Mentoring  system)  ในปี

          การศึึกษา  2559  โด้ยเริ�มกับนักศึึกษาแพทย์ชี่ั�นปีที�  2  มีอาจารย์ที�ปรึกษาซึ่ึ�งรับสมัครจากอาจารย์ที�อาสาเข้ามาทำา
          หน้าที� mentor ในสัด้ส่วนอาจารย์ 1 คน ด้้แลนักศึึกษาในชี่ั�นปีเด้ียวกัน 5 คน ทำาหน้าที�อาจารย์ mentor ประจำากลุ่ม
          ติด้ตามด้้แลนักศึึกษาในกลุ่มจนจบการศึึกษา
                 วัตถุประสงค์ของระบบอาจารย์ที�ปรึกษาในการพัฒนานักศึึกษาแพทย์ มี 3 ประเด้็นค้อ
                 1. ชี่่วยเหล้อนักศึึกษา (Student support)
                 2. สนับสนุนการพัฒนาตนเอง (Personal growth)
                 3. พัฒนาคุณลักษณะทางวิชี่าชี่ีพ (Professional identity formation)

                 โด้ยมีกิจกรรมที�ทำาให้ได้้พบนักศึึกษาในกลุ่มเป็นประจำา
          การออกแบบกิจกรรมในแต่ละปีการศึึกษาปรับตามชี่่วงชี่ีวิตและ
          ประสบการณ์ในการเรียนของนักศึึกษา ตัวอย่างเชี่่น ในชี่ั�นปีที� 2-3 มี

          กิจกรรม Early clinical exposure ให้นักศึึกษาได้้รับประสบการณ์
          ชี่ั�นคลินิกจากการได้้พบผู้้้ป่วยจริง  ได้้สัมผู้ัสบรรยากาศึการทำางาน
          ของอาจารย์แพทย์ในการด้้แลรักษาผู้้้ป่วยในโรงพยาบาล  เพ้�อเพิ�ม
          แรงจ้งใจและความหมายในการเรียนเน้�อหาที�มากมายในชี่่วงพรี
          คลินิก  ได้้ฝึึกทักษะการพ้ด้คุยส้�อสารกับผู้้้ป่วยภายใต้การด้้แลจาก
          อาจารย์ mentor เพ้�อเรียนร้้การฟังอย่างตั�งใจ และเรียนร้้ตัวอย่างที�
          ด้ีจากต้นแบบ (Role model)

                                                            ในชี่ั�นปีที�  4  นักศึึกษาแพทย์มักพบปัญหาการ
                                                     ปรับตัวกับการเรียนซึ่ึ�งเปลี�ยนร้ปแบบไป  ทั�งการเรียนที�มี

                                                     การฝึึกปฏิิบัติ   การเรียนกลุ่มย่อยที�มีมากขึ�นและการ
                                                     ประเมินผู้ลที�เป็น  Workplace-based  assessment  จึงมี
                                                     กิจกรรม retreat และ reflection ให้อาจารย์รับฟังปัญหา
                                                     และแนะแนวทางการเรียน  รวมถึงการฝึึกให้นักศึึกษาได้้ตั�ง
                                                     เป้าหมายการพัฒนาตนเองและการเรียนร้้ของตนเอง



                 หลังการด้ำาเนินโครงการอาจารย์ที�ปรึกษาต่อเน้�องมาถึงปัจจุบัน   จากการได้้ทำาหน้าที�อาจารย์ที�ปรึกษาเป็น
          เวลานานและต่อเน้�อง ได้้สร้างสัมพันธิภาพที�ทำาให้อาจารย์และนักศึึกษามีโอกาสเรียนร้้ร่วมกัน แลกเปลี�ยนข้อม้ล ปัญหา
          อุปสรรค  และร่วมกันหาทางออกเพ้�อพัฒนาการจัด้การศึึกษาในหลักส้ตร  ได้้เกิด้การพัฒนาการเรียนการสอนและ
          การด้้แลนักศึึกษาด้้านอ้�น ๆ ในคณะฯ ขึ�นมากมาย เป็นประสบการณ์ที�ด้ีและเป็นประโยชี่น์ต่อทั�งนักศึึกษา อาจารย์และ
          สถาบัน

                 กี่าร้สอนในหลักี่สูต่ร้วั่ทย่าศูาสต่ร้์สุข้ภาพเป็็นกี่าร้สอนวั่ช่าช่ีพ  เป็้าหมาย่เพ้�อให้บัณ์ฑิ่ต่ที�จบจากี่หลักี่สูต่ร้
          สามาร้ถูทำางานร้ับผู้่ดูช่อบต่่อช่ีวั่ต่ข้องผูู้้ป็่วัย่     ซึ่ึ�งจำาเป็็นต่้องใช่้ทักี่ษะควัามสามาร้ถูในดู้านต่่าง ๆ กี่าร้สอนเพ้�อให้
          น่ส่ต่/นักี่ศูึกี่ษาพัฒนาทักี่ษะทางดู้านวั่ช่าช่ีพและพัฒนาต่นเอง   เพ้�อให้เป็็นบุคลากี่ร้ที�มีคุณ์ค่าสร้้างป็ร้ะโย่ช่น์ต่่อ

          สังคมจึงเป็็นบทบาทหน้าที�ที�สำาคัญข้องอาจาร้ย่์ดู้วัย่เช่่นกี่ัน
      36
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43