Page 34 - Journal 8
P. 34
Reflection
การสะทำ�อนคิด้
รศ. ดร. นพ.เชิิดศักดิ� ไอรมณีีรัตน์
ภาควิิชิาศัลยศาสตร์ คณีะแพทยศาสตร์ศิริราชิพยาบาล
การสะท์้อนคิด (reflection) เป็นกระบวนการท์ี�สำาค้ญในการเรียุนร้้ ห้ากพิจารณ์าต์ามท์ฤษฎีี
การเรียุนร้้จากประสบการณ์์ (experiential learning theory) แลิ้ว การเรียุนร้้จะเกิดขึ�นไม่ได้เลิยุห้ากผู้้้เรียุน
ไม่มีกระบวนการสะท์้อนคิด โดยุในมุมมองของท์ฤษฎีีการเรียุนร้้จากประสบการณ์์ การได้ร้บประสบการณ์์ใดๆ
ไม่ได้แปลิว่าจะเกิดการเรียุนร้้โดยุอ้ต์โนม้ต์ิ (อาจารยุ์คงเคยุเจอเห้ต์ุการณ์์ท์ี�ให้้ความร้้แก่น้กศัึกษาแลิ้ว แต์่ผู้่านไป
สามว้นลิองสอบถามน้กศัึกษาด้กลิ้บพบว่าน้กศัึกษายุ้งคงไม่ร้้เร่�องด้งกลิ่าว) การท์ี�ประสบการณ์์ห้นึ�ง ๆ จะนำาไป
ส้่การเรียุนร้้น้�น จะต์้องผู้่านกระบวนการด้งนี� (1) ได้ร้บประสบการณ์์ก้บต์นเอง (Concrete experience),
(2) ต์้�งใจส้งเกต์แลิะสะท์้อนคิด (observation and reflection), (3) การสรุปประเด็นสร้างเป็นห้ลิ้กการ
(conceptualization) แลิะ (4) ท์ดลิองนำาห้ลิ้กการไปใช้้ (experimentation) จะเห้็นได้ว่า reflection
เป็นส่วนสำาค้ญ แลิะห้ากไม่มีข้�นต์อนนี�จะไม่เกิดการนำาเอาประสบการณ์์ท์ี�ได้ไปส้่การเรียุนร้้แลิะใช้้งานต์่อไป
ได้เลิยุ John Dewey น้กการศัึกษาช้าวอเมริก้นผู้้้โด่งด้งถึงก้บกลิ่าวว่า “We do not learn from
experience. We learn from reflection on experience.”
Concrete
กระบวนการ reflection เป็็นกระบวนการที� experience
ผิ้้เรียนใช้้ความคิดวิเคราะห์สิ�งที�ตันได้พื่บได้เห็น เพื่่�อแป็ลี
ความหมายข้องป็ระสบการณ์ดังกลี่าวแลีะนำาไป็ส้่การ Experimentation Observation
เป็ลีี�ยนแป็ลีงมุมมอง เป็ลีี�ยนทัศึนคตัิ หร่อเป็ลีี�ยนแนวป็ฏิิบัตัิ and reflection
ข้องตัน เราจะพื่บว่าในนักศึึกษาที�เรียนเก่ง บ่อยครั�ง
นักศึึกษาสามารถึทำาการสะท้อนคิดได้ด้วยตันเอง แตั่ใน
นักศึึกษาจำานวนไม่น้อย เม่�อได้รับป็ระสบการณ์แลี้วไม่ได้ Conceptualization
ทำา reflection ตั่อ อาจารย์ควรมีการกระตัุ้นให้นักศึึกษา
ได้ทำา reflection แลีะช้่วยแก้ไข้ความเข้้าใจผิิดก่อนที� ในเวลีาที�ผิ้้เรียนทำา reflection อาจารย์สามารถึ
นักศึึกษาจะสร้าง concept ที�จะนำาไป็ใช้้งานตั่อไป็ แนวทาง จำาแนกสิ�งที�ผิ้้เรียน reflect ได้เป็็นสามระดับตัามคุณภาพื่
การกระตัุ้นให้นักศึึกษาทำา reflection ที�ง่ายที�สุดค่อ ข้อง reflection ได้แก่ (1) Descriptive reflection
เม่�อจบกิจกรรมการเรียนการสอนใด ๆ อาจารย์สามารถึ (การบรรยายสิ�งที�ได้เห็น หร่อได้ยินมาโดยไม่ได้วิเคราะห์),
ถึามนักศึึกษาว่า วันนี�ได้เรียนร้้ป็ระเด็นสำาคัญอะไร หร่อ (2) Practical reflection (การเช้่�อมโยงป็ระสบการณ์ที�
อาจารย์ข้อให้นักศึึกษาช้่วยสะท้อนคิดถึึงสิ�งที�ได้เรียนร้้ ได้รับกับความร้้ ความเข้้าใจข้องตัน หร่อสิ�งที�ตันป็ฏิิบัตัิ
ในวันนี� ในป็ัจจุบัน), แลีะ (3) Critical reflection (การเสนอ
แนวทางการป็รับเป็ลีี�ยนตันเองเพื่่�อให้ทำาได้ดีข้ึ�นในอนาคตั)
32