Page 23 - 3_2023_journal
P. 23
2. ทักษะการ encourage
หลักการสำาคัญของการทำา TBL คือ
การส่งเสริมให้ผู้เรียนค้นพบความรู้ด้วยตัวเอง
ผ่านการตั้งคำาถามและอภิปราย ดังนั้น facilitator
ต้องไม่เป็นผู้ป้อนสารนั้น ๆ ให้กับผู้เรียนโดยตรง
แต่จะเป็นผู้กระตุ้น และส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดสาร 6. ทักษะในการ “หยุด”
นั้น ๆ ขึ้นมาเองผ่านทางวิธีการต่าง ๆ เช่น ค้นคว้า หากการอภิปรายดำาเนินไปเกินเวลา หรือ
ด้วยตัวเอง อภิปรายแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในกลุ่ม นอกขอบเขตของหัวข้อ facilitator ต้องสามารถ
เป็นต้น ที่จะหยุดกิจกรรมโดยไม่ทำาให้เสียบรรยากาศใน
การเรียน เพื่อให้กิจกรรมสามารถดำาเนินต่อไปได้
3. ทักษะการส่งทอด (relay) สาร ตามกำาหนดเวลา
เมื่อมีผู้เรียนที่ตั้งคำาถาม หรือเปิดประเด็น
ในการอภิปราย facilitator ควรสามารถ relay 7. ทักษะในการ “เปิดใจ”
สารจากผู้เรียนไปยังกลุ่มหรือไปยังทั้งชั้นเรียน เพื่อ และยอมรับ ถึงแม้ว่า facilitator จะ
ให้เกิดการอภิปราย หรือถกเถียงอย่างสร้างสรรค์ มีคำาตอบที่เตรียมมาสำาหรับคำาถามและการ
ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง อภิปรายไว้แล้ว หากผู้เรียนสามารถให้คำาตอบที่
เหมาะสมและมีเหตุผล facilitator ต้อง
4. ความสามารถในแก้ปัญหาเฉพาะหน้า พร้อมที่จะเปิดใจ และยอมรับคำาตอบของผู้เรียน
การยอมรับจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้
ถึงแม้ว่าการจัดการเรียนสอนแบบ TBL ความภาคภูมิใจและรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของ
จะมีแบบแผนที่สามารถออกแบบและมีหมาย (ownership) ของความรู้ที่ผู้เรียนคิดหรือค้นคว้า
กำาหนดการที่ชัดเจน แต่ในบางครั้งก็มีเหตุสุดวิสัย มาด้วยตัวเอง
ความขัดข้อง รวมไปถึงปัญหาระหว่างการอภิปราย
(เช่น มีผู้เรียนอภิปรายน้อย หรือมากเกินไป)
facilitator จะต้องแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเพื่อให้
กิจกรรมสามารถดำาเนินต่อไปได้
5. ทักษะในการสร้างบรรยากาศ
ให้ผู้เรียนรู้สึกผ่อนคลาย และปลอดภัยใน
การอภิปราย
20