Page 9 - 3_2023_journal
P. 9

การออกแบบคำาถามแต่ละข้อของ TBL     นอกจากความรู้ทางวิชาการในเนื้อหา     TBL ไม่ได้เหมาะกับการสอนเนื้อหาทุก

 จะเป็น backward design จากคำาถามสุดท้าย ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมนั้น ๆ TBL ยังช่วยส่งเสริม   รูปแบบ ถ้า learning outcomes ของประเด็น
 ที่เป็น application exercise ย้อนกลับลงมา  transferable skills ที่สำาคัญต่างๆ โดยเฉพาะ  นั้น ๆ เน้นเพียงความจำาหรือความเข้าใจพื้นฐาน

 เป็นองค์ความรู้ต่าง  ๆ ที่จะช่วยให้ผู้เรียนทำา   การทำางานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพการสื่อสาร  ปัจจัยสำาคัญต่อความสำาเร็จ  อาจไม่เหมาะกับการใช้วิธีการสอนแบบ  TBL
                                                    เพราะอาจมีเนื้อหาที่ต้อง discuss หรือ debate
 application exercise ได้อย่างถูกต้อง หรือ  ภายในทีมเป็นปัจจัยสำาคัญที่ทำาให้แต่ละทีมได้  ของการเรียนรู้ผ่าน  ไม่มากพอ รวมทั้งสามารถสอนด้วยวิธีอื่น ๆ ได้อย่าง

 ประสบความสำาเร็จตาม learning outcome  คำาตอบที่ถูกต้อง facilitator จะช่วยกระตุ้นให้  มีประสิทธิภาพ ดังนั้น การเลือกเนื้อหาที่เหมาะสม
 ของกิจกรรมนั้น ๆ ดังนั้นความรู้ความเข้าใจที่ผู้ ผู้เรียนกล้าแสดงความคิดเห็นอย่างเหมาะสม    กับ TBL จึงมีความสำาคัญมาก ควรเป็นเนื้อหาที่ผู้เรียน

 เรียนได้ในระหว่างแก้โจทย์ปัญหาช่วง readiness  ผู้เรียนที่แสดงความคิดเห็นน้อยจะได้รับโอกาส  team-based learning   เข้าใจได้ยากถ้าเรียนผ่านการเรียนรูปแบบอื่น ๆ หรือ

 assurance จึงมีความสำาคัญมาก การออกแบบ  ให้ได้แสดงความเห็นมากขึ้น เป็นการสร้างความมั่นใจ  เป็นเนื้อหาที่ผู้เรียนมักจะเข้าใจคลาดเคลื่อน
 โจทย์คำาถามและตัวเลือกที่มีประสิทธิภาพจะ  ที่จะแสดงความคิดเห็นในกิจกรรมครั้งต่อ ๆ ไป    คืออะไร?      การทำางานร่วมกันระหว่างสมาชิกในทีมทุกคน

 ช่วยให้ผู้เรียนได้มีความเข้าใจที่แท้จริง ได้รับการ  ผู้เรียนที่ไม่เปิดโอกาสให้คนอื่นได้แสดงความคิดเห็น   และ facilitator มีความสำาคัญมากเช่นกัน ทีมที่
 แก้ไขความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนผ่านกระบวนการ   จะได้รับ  feedback  เพื่อการพัฒนาทั้งจาก       ความสำาเร็จต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนผ่าน  รู้จักและเข้าใจกันจะทำางานได้ดี เรียนรู้ได้อย่างมี

 immediate feedback ในขั้นตอนของ team  facilitator และสมาชิกในทีม  TBL ขึ้นกับปัจจัยสำาคัญอย่างน้อย 3 ข้อ คือ  ประสิทธิภาพในเวลาที่จำากัดได้ดีกว่าทีมที่เพิ่งเจอกัน
 readiness assurance test และการ discuss            ดังนั้นการจัดกลุ่มและดูแลให้แต่ละกลุ่มพัฒนาสู่

 หรือแม้แต่ debate กับทีมอื่น ๆ นอกจากนี้    1. การเลือกหัวข้อที่เหมาะสม รวมถึงการเขียน  ความเป็นทีมจึงเป็นความท้าทายสำาคัญของ facilitator
 facilitator ยังดูแลช่วยให้ผู้เรียนได้เข้าใจเนื้อหา  โจทย์คำาถามที่ท้าทาย  นอกจากนี้ facilitator ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสดง

 อย่างแท้จริง ผ่านกระบวนการคิดแก้ปัญหาด้วย  2. ความพร้อมในการทำางานเป็นทีมของผู้เรียน  ความเห็นมากที่สุดก่อนที่จะบอกคำาตอบที่ถูกต้อง
 ตนเอง   แต่ละทีม                                   ทั้งนี้อยู่ภายใต้กรอบของการบริหารจัดการเวลาที่มี
         3. ทักษะของ facilitator ที่ช่วยส่งเสริมการมีส่วน อย่างเหมาะสม
         ร่วมของผู้เรียน








 “ด้วยประสิทธิภาพของ TBL

  ที่ส่งเสริมทั้งความรู้ทางวิชาการที่เป็น

 higher-order thinking

 และความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของ

 ผู้เรียนแต่ละคน รวมถึงทักษะการสื่อสาร
 และการทำางานเป็นทีม ทำาให้ TBL ได้รับ

 ความนิยมมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง

 ในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพต่าง ๆ”


                                                  6
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14