Page 51 - 3_2023_journal
P. 51
2. ปัจจัยกระตุ้นจากภายใน (Intrinsic Motivators) ได้แก่
“ปัจจัยด้านเวลาที่มีจำากัดของ - ทักษะการบริหารจัดการตนเอง (Self-Management Skills) เป็นปัจจัยที่ขึ้นอยู่กับ
นักศึกษา หากขาดการบริหารจัดการ ตัวนักศึกษาเอง ไม่ว่าจะเป็นการบริหารจัดการเวลา การสร้างแรงจูงใจให้ตนเอง หรือการวางเป้าหมายส่วนตัว
- ความรู้สึกด้านบวกต่อรูปแบบการเรียน ตัวอย่างเช่น หากผู้สอนสามารถสร้างบรรยากาศการ
สื่อการเรียนรู้การศึกษาด้วยตนเอง เรียนรู้ที่ดี เนื้อหาที่ได้เรียนเป็นประเด็นที่น่าสนใจ และหลังจากเรียนแล้วสามารถนำาความรู้ไปใช้ได้จริง
อาจจะทำาให้ความตั้งใจที่ดีในการ ก็จะยิ่งเพิ่มแรงกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้สึกสิ่งที่ตัวเองเตรียมตัวมีประโยชน์ต่อตนเอง
จัด TBL นั้น กลายเป็นความเครียด จากบทสัมภาษณ์จึงทำาให้เห็นว่า ผู้สอนสามารถส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ในหลากหลายด้าน
และภาระทางการศึกษาที่เพิ่มให้กับ ไม่ใช่เพียงแค่ปัจจัยกระตุ้นภายนอก แต่ผู้สอนสามารถออกแบบบรรยากาศในการเรียนรู้เพื่อเป็นปัจจัย
นักศึกษาแทน” กระตุ้นภายในต่อนักศึกษาได้เช่นกัน
- นศพ. ฐิติพัฒน์ -
“การที่ต้องศึกษาคลิปวิดีโอในระดับ
ชั่วโมงเป็นสิ่งที่อาจจะทำาให้ไม่ชอบ
2. ความคิดเห็นต่อการเตรียมตัวศึกษาบทเรียนก่อนมาห้องเรียน การเรียนรู้ด้วยวิธีนี้ครับ คิดว่าความยาวที่
และปัจจัยใดส่งผลเพิ่มแรงกระตุ้นให้ผู้เรียนเตรียมตัวมาได้มากขึ้นได้ ประมาณ 20-30 นาที เป็นระยะเวลา
ดังที่ได้กล่าวในย่อหน้าข้างต้น การเตรียมตัวศึกษาบทเรียนก่อนมาห้องเรียนเป็นปัจจัยสำาคัญ ที่เหมาะสมสำาหรับนักศึกษาครับ”
ที่ทำาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในเนื้อหามากขึ้น แต่ก็ถือเป็นหนึ่งในปัญหาที่นักศึกษายกขึ้นมา และส่วนมาก
จะเกิดปัญหานี้ขึ้นในการเรียนในชั้นคลินิกเนื่องจากมีข้อจำากัดด้านเวลา จนหากมีการบริหารจัดการเรื่องนี้ - นศพ. แสนยากร -
ไม่ดีพอ อาจส่งผลให้เกิดความเครียดต่อตัวนักศึกษาแทนได้
อย่างไรก็ตามในมุมมองนักศึกษามีความคิดเห็นต่อสิ่งที่สามารถเพิ่มแรงกระตุ้นให้นักศึกษา
ในการเตรียมตัวก่อนมาเรียนได้ และไม่ส่งผลด้านลบต่อตัวนักศึกษา ทางทีมงานจัดทำาได้สรุป 3. ความคิดเห็นต่อการเปลี่ยนการเรียนในห้องเรียนเป็นการใช้เวลาใน
ความคิดเห็นของนักศึกษาแบ่งเป็นดังต่อไปนี้ ห้องเรียนในการฝึกแก้ปัญหา
1. ปัจจัยกระตุ้นจากภายนอก (Extrinsic Motivators) ได้แก่
- การทำาข้อสอบทั้งแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม สามารถเป็นแรงกดดันเล็ก ๆ ทำาให้นักศึกษา นักศึกษามีความเห็นไปในทิศทางเดียวกันว่าการใช้เวลาในห้องเรียนในการฝึกแก้ปัญหานอกจาก
ต้องเตรียมพร้อมก่อนการเข้ามาทำาข้อสอบ และสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนได้ เป็นปัจจัยกระตุ้นให้นักศึกษาเตรียมตัวก่อนมาเข้าเรียนแล้ว ยังส่งเสริมให้เกิดกระบวนการคิด วิเคราะห์
- สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนภายในกลุ่มรวมถึงเพื่อนภายในห้องเรียน ทำาให้เกิดความเข้าใจใน
หากสื่อการเรียนรู้เป็นสื่อที่เข้าใจง่าย มีความน่าสนใจ ไม่เยอะหรือน้อยจนเกินไป เนื้อหาที่ลึกซึ้งขึ้นมากกว่าการเรียนแบบ Traditional Lecture
และที่สำาคัญคือสอดคล้องกับเนื้อหาที่ต้องใช้ในคาบเรียน จะส่งผลให้นักศึกษาศึกษาด้วยตนเองเพิ่มมากขึ้น ในทางกลับกันนักศึกษาบางคนให้ข้อคิดเห็นว่า การทำาข้อสอบในคาบเรียนนั้นก็สามารถ
หากมีสื่อการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ ไม่ใช่แค่เอกสารคำาสอนที่ต้องอ่านตัวหนังสือ ไปเพิ่มแรงกดดันให้กับนักศึกษาได้ หากนักศึกษามีความเข้าใจว่าการทำาข้อสอบเป็นการประเมิน
จำานวนมาก แต่มีทางเลือกอื่น ๆ เช่น คลิปวิดีโอ ก็จะสามารถกระตุ้นให้นักศึกษาที่มีวิธีการเรียนที่แตกต่างกัน เพื่อเก็บคะแนน แต่หากมีการทำาความเข้าใจกันตั้งแต่ต้นว่าจุดประสงค์ของการทำาข้อสอบทำาเพื่อให้เกิด
มีแนวทางที่จะศึกษาด้วยวิธีที่มีประสิทธิภาพต่อตนเองมากที่สุด การเรียนรู้และการ Feedback ต่อตนเอง จะช่วยลดความกดดันต่อตัวเองของนักศึกษาได้
48