Page 10 - Glossary_M.Sc.(HSE)_2020
P. 10

อภิธานศัพทพื้นฐานสําหรับนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษาวิทยาศาสตรสุขภาพ) 2563

                                              2. ดานจิตใจ (Affective Domain)  แบงไดเปน 5 ระดับ ไดแก

                                                 2.1  การรับรู – เปนความรูสึกที่ไดรับจากสิ่งเราของผูเรียน
                                                 2.2  การตอบสนอง – เปนการแสดงความรูสึกตอบสนองตอสิ่งเรา

                                                      ซึ่งเปนความรูสึกที่ผานการไตรตรองแลว

                                                 2.3  การใหคุณคา – เปนการยอมรับในแนวคิด หลักการ จนเกิดเปน
                                                      ทัศนคติตอสิ่งที่ไดรับรู

                                                 2.4  การจัดระบบ – เปนการจัดระบบแนวคิด จัดระบบของคานิยม

                                                      ที่เกิดขึ้น
                                                 2.5  การเกิดบุคลิกภาพ – เปนการนําคานิยมที่ไดรับมายึดถือ จนเกิด

                                                      เปนบุคลิกภาพประจําตัว

                                              3. ดานการปฏิบัติ (Psychomotor Domain) แบงไดเปน 5 ระดับ ไดแก
                                                 3.1  การรับรู - ผูเรียนไดรับรูหลักการปฏิบัติทักษะที่ถูกตอง

                                                 3.2  การกระทําตามแบบ - ผูเรียนจะฝกปฏิบัติตามแบบที่ไดเรียนรู

                                                      มาซ้ําๆ เพื่อใหเกิดทักษะที่ถูกตอง
                                                 3.3  การประเมินความถูกตอง - เปนระดับที่ผูเรียนสามารถปฏิบัติ

                                                      ทักษะและประเมินความถูกตองไดเอง

                                                 3.4  การปฏิบัติอยางตอเนื่อง - เปนการฝกปฏิบัติทักษะของผูเรียน
                                                      อยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติทักษะที่ซับซอนไดอยางรวดเร็ว

                                                 3.5  การปฏิบัติไดอยางเปนธรรมชาติ - เปนระดับที่ทักษะไดรับการ

                                                      ฝกปฏิบัติจนสามารถปฏิบัติไดอยางเปนธรรมชาติโดยอัตโนมัติ

                   Classical conditioning     การเรียนรูตามแนวคิดพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)  ที่ใชการวางเงื่อน

                                              ไขแบบดั้งเดิมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การแสดงออกที่เปนโดยอัตโนมัติ

                                              เชน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการมีน้ําลายไหลของสุนัขในการศึกษาของ
                                              Ivan Pavlov


                   Collaborative learning     การเรียนรูแบบมีสวนรวมคือ การเรียนรูเปนกลุมยอยมีสมาชิก 3- 6 คน

                                              สมาชิกในกลุมมีความสามารถที่แตกตางกัน สมาชิกชวยกันเรียนรูเพื่อไปสู

                                              เปาหมายกลุม องคประกอบการเรียนรูแบบมีสวนรวม ประกอบดวย การ
                                              พึ่งพาและเกื้อกูลกัน การปรึกษาหารือกันอยางใกลชิด ความรับผิดชอบที่

                                              ตรวจสอบไดของสมาชิกแตละคน  การใชทักษะการปฏิสัมพันธระหวาง

                                              บุคคล และทักษะการทํางานกลุมยอย  และการวิเคราะหกระบวนการ
                                              กลุมเพื่อใหกลุมเกิดการเรียนรูและปรับปรุงการทํางาน




                   ศูนยความเปนเลิศดานการศึกษาวิทยาศาสตรสุขภาพ (ศศว) คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล      หนา  |  7
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15