Page 26 - Glossary_M.Sc.(HSE)_2020
P. 26

อภิธานศัพทพื้นฐานสําหรับนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษาวิทยาศาสตรสุขภาพ) 2563

                 Latent content             วิธีการวิเคราะหเนื้อหาในงานวิจัยเชิงคุณภาพ ดวยการตีความเนื้อหานั้น

                                            กอน เนื่องจากเนื้อหาไมไดระบุตามความหมายนั้นโดยตรง

                 Manifest content           การวิเคราะหเนื้อหาตามที่ปรากฎ เปนวิธีการวิเคราะหเนื้อหาในงานวิจัย
                                            เชิงคุณภาพ  เชน  การวัดความถี่ของคําที่ปรากฏอยูในเนื้อหาที่ตองการ

                                            วิเคราะห


                 Meta analysis              การวิเคราะหขอมูลจากการศึกษางานวิจัยหลายงาน ที่พยายามตอบ

                                            คําถามวิจัยเดียวกัน แลวใชกระบวนการทางสถิติในการสรุปผลรวมของ
                                            ทุกงานวิจัย


                 Mixed methods research  วิธีดําเนินการวิจัยที่ใชการวิจัยเชิงปริมาณรวมกับการวิจัยเชิงคุณภาพ


                 Multiple regression        การวิเคราะหความถดถอยพหุคูณ เปนวิธีทางสถิติที่ใชศึกษาความสัมพันธ

                                            ระหวางตัวแปรอิสระ (ตัวแปรตน) หลายตัวแปร กับตัวแปรตาม 1 ตัว

                                            แปร เพื่อสรางสมการที่สามารถพยากรณคาของตัวแปรตามไดหากทราบ
                                            คาตัวแปรตน


                 Naturalistic               การสังเกตพฤติกรรมและเหตุการณในสภาพแวดลอมที่เปนธรรมชาติ

                 observation                โดยตรง โดยผูวิจัยไมไดปรับปจจัยใดๆ และไมมีการควบคุมสภาพ

                                            แวดลอมใดๆ

                 Norm                       บรรทัดฐาน คือระเบียบแบบแผนที่คนสวนใหญในกลุมยึดถือเปนแนวทาง
                                            ปฏิบัติ


                 Null hypothesis            สมมติฐานที่ตองการทดสอบวาไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ


                 Panel study                การศึกษาติดตามกลุมบุคคลหนึ่งในชวงระยะเวลาหนึ่ง มีการเก็บขอมูล
                                            เปนระยะๆ ในกลุมคนกลุมนั้น


                 Participant                บุคคลที่มีคุณลักษณะหรือพฤติกรรมที่ตอบสนองเปาหมายของการศึกษา

                                            ในโครงการวิจัยและยินยอมเขารวมในงานวิจัย


                 Participatory action       การวิจัยเชิงปฏิบัติการณแบบมีสวนรวม  เปนการวิจัยที่ดําเนินการโดย

                 research                   คณะวิจัย ชุมชน และแกนนําระดับภูมิภาค เขามามีสวนรวมในการวิจัย
                                            ทุกขั้นตอน  โดยยึดแนวคิดประชาชนเปนศูนยกลางและแกปญหาดวย

                                            กระบวนการเรียนรู



                  ศูนยความเปนเลิศดานการศึกษาวิทยาศาสตรสุขภาพ (ศศว) คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล      หนา  |  23
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31