Page 22 - Glossary_M.Sc.(HSE)_2020
P. 22

อภิธานศัพทพื้นฐานสําหรับนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษาวิทยาศาสตรสุขภาพ) 2563

                 Cohort analysis            การวิเคราะหลักษณะของบุคคลที่มีปจจัยทางสถิติรวมกันในแตละ

                                            กลุม สมาชิกในกลุมจะมีลักษณะเฉพาะ  เชนเกิดในปที่กําหนด หรือ
                                            ประสบการณบางอยาง เชน เขาเรียนรายวิชาเดียวกัน แลวทําการติดตาม

                                            กลุมตัวอยางดังกลาว เพื่อศึกษาเปรียบเทียบวากลุมที่ตางกัน นําไปสู

                                            ผลลัพธที่ตางกันหรือไม เชน ติดตามนักศึกษาที่เรียนดวยวิธีการตางกันไป
                                            สามป แลวดูผลการเรียนวาไดผลตางกันหรือไม


                 Conceptual framework  กรอบแนวคิดการวิจัย  คือความเชื่อหรือขอสรุปเบื้องตนเกี่ยวกับสิ่งที่นัก

                                            วิจัยตองการศึกษา


                 Confidentiality            แนวปฏิบัติในการวิจัยที่ผูวิจัยจะตองรักษาขอมูลที่เก็บรวบรวมไดจาก

                                            ผูเขารวมวิจัยเปนความลับ ไมเปดเผยตอผูอื่น

                 Construct validity         ความตรงเชิงโครงสราง คือความตรงตามทฤษฎีที่เครื่องมือสามารถวัดคา
                                            ของสิ่งหนึ่งๆ ไดตรงตามที่ตั้งเปาไว


                 Content analysis           การวิเคราะหเนื้อหา เปนเทคนิคการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการวิจัยเชิง

                                            คุณภาพอยางเปนระบบ เพื่อหาขอสรุปของการวิจัยที่เชื่อถือได


                 Contextualization          การชี้แจงบริบทของการวิจัย เปนการอธิบายบริบทในการวิจัยเชิงคุณภาพ

                                            ที่ทําใหผูอานงานวิจัยเขาใจวา ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลจากสถานการณ
                                            แวดลอมอยางไร ผูอานงานวิจัยจะไดนําผลไปประยุกตใชไดอยาง

                                            เหมาะสม


                 Context sensitivity        การรับรูบริบท หรือปจจัยตางๆ ที่อาจกระทบตอผลการวิจัยเชิงคุณภาพ

                                            เชน คานิยม ความเชื่อวัฒนธรรม ภูมิประเทศ  ซึ่งอาจเปนเหตุให
                                            ผลการวิจัยในสถานที่หนึ่ง อาจไมเหมือนกับสิ่งที่เกิดในอีกสถานที่หนึ่ง


                 Control group              กลุมควบคุม คือกลุมตัวอยางในการทดลองที่ไมไดรับเครื่องมือหรือวิธีการ

                                            ที่ใหในกลุมทดลอง แตมีลักษณะอื่นๆ ที่คลายคลึงกันกับกลุมทดลอง เมื่อ

                                            วัดผลลัพธของกลุมทดลองไดตางจากกลุมควบคุม  จึงสรุปไดวาเครื่องมือ
                                            หรือวิธีการที่ใหตางกันนี้เปนเหตุใหผลลัพธตางกัน

                 Controlled experiment   การออกแบบการทดลองกับกลุมที่เลือกแบบสุม สองกลุมขึ้นไป  คือกลุม

                                            ทดลองและกลุมควบคุมโดยทําการควบคุมตัวแปรอื่นๆ ใหคงที่





                  ศูนยความเปนเลิศดานการศึกษาวิทยาศาสตรสุขภาพ (ศศว) คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล      หนา  |  19
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27