Page 23 - Glossary_M.Sc.(HSE)_2020
P. 23

Glossary of terms for Health science Education students 2020


                 Correlation coefficient    คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ  เปนดัชนีที่บอกทิศทาง  และขนาดของความ

                                            สัมพันธระหวางตัวแปร  โดยมีคาตั้งแต  -1  ถึง  1 คาบวกแสดงวาเมื่อตัว
                                            แปรตนเพิ่มขึ้น ตัวแปรตามก็มีคาเพิ่มขึ้น สวนคาลบแสดงวาตัวแปรตน

                                            เพิ่ม ตัวแปรตามมีคาลดลง


                 Correlation                การวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรตั้งแตสองตัวขึ้นไป


                 Credibility                ความนาเชื่อถือ เปนการตรวจสอบความสอดคลองของขอมูลและการ

                                            ตีความในการวิจัยเชิงคุณภาพ

                 Criterion variable         ตัวแปรตาม หรือผลลัพธ

                 Data quality               คุณภาพของขอมูลจากการวัดผล  หรือการสังเกตที่รวบรวมได ในแงของ
                                            ความถูกตองและความนาเชื่อถือ


                 Deductive                  รูปแบบของการใหเหตุผลที่ขอสรุป โดยการรวบรวมขอมูลจํานวนมากมา

                                            แลวหาขอสรุปที่กระชับที่อธิบายขอมูลทั้งหมดได


                 Dependent variable         ตัวแปรตาม เปนตัวแปรที่เปนผลกระทบมาจากตัวแปรตน


                 Discrete variable          ตัวแปรไมตอเนื่อง มีคาเฉพาะเจาะจง เชน เพศ  ไมสามารถนําเอาตัวแปร

                                            เหลานี้ไปวิเคราะหดวย parametric statistics ได

                 Effect size                ขนาดของการเปลี่ยนแปลงจากตัวแปรตามที่ไดรับอิทธิพลมาจากตัวแปร

                                            อิสระ ซึ่งคือความแตกตางของคาเฉลี่ยของตัวแปรระหวางกลุมทดลอง
                                            และกลุมควบคุมหารดวยคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุมทดลองหรือกลุม

                                            ควบคุมเพียงอยางเดียว

                 Emic perspective           มุมมองการทําวิจัยเชิงคุณภาพ โดยพิจารณา มุมมองของนักศึกษา


                 Empirical research         การวิจัยเชิงประจักษ เปนกระบวนการหาความจริงจากขอมูลปฐมภูมิโดย

                                            มีการเก็บขอมูลและใชสถิติในการวิเคราะห เพื่อสนับสนุนความเขาใจ
                                            อยางลึกซึ้งเกี่ยวกับปรากฏการณที่กําลังวิจัย


                 Ethnography                การศึกษากลุม หรือวัฒนธรรมในชวงระยะเวลาหนึ่ง โดยผูวิจัยแฝงตัวเขา

                                            ไปเปนสวนหนึ่งของกลุมนั้นเพื่อรวบรวมขอมูลในการวิจัย ซึ่งหากใชระยะ

                                            เวลานานขอมูลที่ไดจะมีรายละเอียดมากขึ้น




                 20 | Pag e    Siriraj Health science Education Excellence center (SHEE) Faculty of Medicine Siriraj Hospital
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28