Page 24 - Glossary_M.Sc.(HSE)_2020
P. 24

อภิธานศัพทพื้นฐานสําหรับนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษาวิทยาศาสตรสุขภาพ) 2563

                 Experimental research      การวิจัยเชิงทดลอง  เปนงานวิจัยที่มีการแบงกลุมผูเขารวมวิจัยเปนกลุม

                                            ทดลองและกลุมควบคุม โดยใชกระบวนการแบงกลุมแบบสุม มีการจัด
                                            กระทํากิจกรรมบางอยาง ใหกลุมทดลองและกลุมควบคุมไดรับกิจกรรม

                                            ตางกัน ภายใตการควบคุมตัวแปรแทรกซอน จากนั้นวัดผลตัวแปรตาม

                                            เพื่อศึกษาหาขอสรุปวากิจกรรมที่จัดนั้น เปนเหตุใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
                                            ในตัวแปรตามหรือไม


                 External validity          ความตรงภายนอกของการวิจัย คือผลลัพธของการวิจัยสามารถสรุปหรือ

                                            ถายโอนไปสูกลุมตัวอยางอื่นได


                 Extraneous variable        ตัวแปรแทรกซอน  เปนตัวแปรที่สามารถสงผลตอตัวแปรตาม  ซึ่งหากไม

                                            ควบคุมตัวแปรเหลานี้ อาจทําใหเกิดความคลาดเคลื่อนในการสรุป
                                            ผลการวิจัย


                 Factor analysis            การวิเคราะหองคประกอบ เปนการทดสอบทางสถิติที่สํารวจความ

                                            สัมพันธระหวางขอมูลวาตัวแปรกลุมใดในชุดขอมูลที่มีความสัมพันธกัน

                                            และควรจัดเปนปจจัยเดียวกัน

                 Field notes                การบันทึกภาคสนาม คือ การบันทึกขอมูลจากการเขาไปสังเกตการณใน
                                            สถานที่จริงในการวิจัยเชิงคุณภาพ


                 Field studies              การวิจัยภาคสนาม เปนการศึกษาเชิงวิชาการหรือเชิงสืบสวนในสภาพ

                                            แวดลอมที่เปนธรรมชาติมากกวาในหองปฏิบัติการ หรือสภาพแวดลอมที่

                                            มีโครงสราง เชน การเก็บขอมูลในพื้นที่ทําการศึกษา

                 Focus groups               กลุมสนทนาขนาดเล็กประกอบดวยผูเขารวม จํานวน 4 - 12 คน พูดคุย
                                            และอภิปรายในหัวขอหรือปญหาที่เฉพาะเจาะจง เพื่อคนหาตัวเลือกหรือ

                                            วิธีแกปญหาที่เปนไปได ซึ่งมีผูดําเนินรายการเพื่อใหการอภิปรายดําเนิน

                                            ไปอยางตอเนื่อง

                 Generalizability           ความสามารถในการนําผลการวิจัยในบริบทหนึ่งไปประยุกตใชกับบริบทอื่น



                 Grounded theory            งานวิจัยเชิงคุณภาพลักษณะหนึ่ง ที่ผูวิจัยพยายามพัฒนาทฤษฎีขึ้นมาใหม

                                            โดยอาศัยขอมูลที่เก็บรวบรวมไดจากงานวิจัย






                  ศูนยความเปนเลิศดานการศึกษาวิทยาศาสตรสุขภาพ (ศศว) คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล      หนา  |  21
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29