Page 16 - Glossary_M.Sc.(HSE)_2020
P. 16

อภิธานศัพทพื้นฐานสําหรับนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษาวิทยาศาสตรสุขภาพ) 2563


                  การวัดและประเมินผลทางการศึกษา (Assessment)



                   Assessment                  การวัดประเมินผล อาจมีเปาประสงคเพื่อวัดระดับทักษะหรือความรูของ
                                               ผูเรียน เพื่อใหทราบวาวาผูเรียนอยูในระดับใด และจะสามารถพัฒนา

                                               ตอไปไดอยางไร


                   Entrustable Professional  กิจกรรมทางวิชาชีพที่ผูเรียนสามารถทําไดดวยตนเอง เปนการแสดงถึง

                   Activity (EPA)              สมรรถนะของผูเรียนหลายๆ ดานออกมาอยางเปนรูปธรรมในการ

                                               ทํางานจริง อาจารยผูดูแลนักศึกษาจะประเมินผูเรียนจากการสังเกตการ
                                               ทํางานจริงของผูเรียน เชน ตรวจผูปวยที่แผนกผูปวยนอก ทําหัตถการ

                                               รักษาผูปวย แลวตัดสินวาผูเรียนมีสมรรถนะในการทํางานดังกลาวมากน

                                               อยเพียงใด ในการจัดการศึกษาผูเรียนควรจะมีการพัฒนาความสามารถ
                                               ในกิจกรรมเหลานี้มากขึ้นตามลําดับจากระดับที่ทําเองไมไดเลย ไปจนถึง

                                               พอทําไดโดยตองใหอาจารยชวยเหลือมาก ทําไดโดยอาจารยชวยเหลือ

                                               เล็กนอย ทําไดดวยตนเองโดยสามารถปรึกษาอาจารยไดเมื่อตองการ
                                               หรือทําไดเองและยังไปควบคุมและสอนผูอื่นทําไดดวย


                   Evaluation                  การประเมินผล เปนกระบวนการตัดสินผล โดยเปรียบเทียบกับเกณฑที่

                                               กําหนด

                   Formative assessment        การวัดและประเมินผลระหวางเรียน มีวัตถุประสงคเพื่อการปรับปรุง

                                               และพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน โดยจะเนนที่กระบวนการในการ
                                               เรียนรูที่สามารถสะทอนผลการเรียนรูที่แทจริง ทําใหผูสอนสามารถ

                                               ทราบสิ่งที่ควรพัฒนา และสามารถนําขอมูลนั้นมาพัฒนาปรับปรุงเพื่อ

                                               พัฒนาผลการเรียนรูของผูเรียนใหมีผลลัพธตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว

                   Miller’s pyramid            พีระมิดการเรียนรูของมิลเลอร แบงออกเปน 4 ระดับ คือ 1) Knows 2)
                                               Knows how 3) Shows how และ 4) Does













                  ศูนยความเปนเลิศดานการศึกษาวิทยาศาสตรสุขภาพ (ศศว) คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล      หนา  |  13
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21