Page 4 - Glossary_M.Sc.(HSE)_2020
P. 4

อภิธานศัพทพื้นฐานสําหรับนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษาวิทยาศาสตรสุขภาพ) 2563


                                    คําศัพทเกี่ยวกับปรัชญา   พื้นฐาน (Philosophy)                              1





                  Axiology                   การศึกษาเรื่องคานิยม คุณคา ความดี และความบริสุทธิ์ทางใจของมนุษย

                  (คุณวิทยา)


                  Behaviorism                ทฤษฎีที่อธิบายพฤติกรรมมนุษยหรือสัตวในแงการสรางเงื่อนไขกับผูเรียน
                  (พฤติกรรมนิยม)             บนหลักการการตอบสนองตอสิ่งเราดานสิ่งแวดลอมและพฤติกรรมที่เกิด

                                             หลักการพื้นฐานคือพฤติกรรมใดที่ทําแลวไดรับการตอบสนองในแงบวก

                                             (ไดรับคําชม ไดรับรางวัล) สิ่งมีชีวิตมีแนวโนมจะทําพฤติกรรมนั้นซ้ํา
                                             แตหากไดรับการตอบสนองในดานลบ (ถูกตําหนิ ถูกตัดคะแนน) สิ่งมีชีวิต

                                             มีแนวโนมจะไมทําพฤติกรรมนั้นอีก


                  Cognitivism                ทฤษฎีที่อธิบายวิธีการประมวล ความคิด ความรูและขอมูลผาน

                  (พุทธินิยม)                กระบวนการทางปญญา ซึ่งเปนกระบวนการภายในของสมองมาใชในการ
                                             กระทําและการแกปญหา


                  Constructivism             ทฤษฎีที่อธิบายแนวคิดที่ผูเรียนสรางความรูดวยตัวเอง โดยการนํา

                  (การสรางองคความรูดวย   ประสบการณเดิมมาเชื่อมโยงกับความรู เพื่อสรางเปนโครงสรางทาง

                  ตนเอง)                     ปญญาที่กอใหเกิดองคความรูใหม


                  Empiricism                 เปนแขนงหนึ่งในญาณวิทยา เชื่อวาความรูเกิดขึ้นไดจากประสบการณ
                  (ประจักษนิยม)             ผานประสาทสัมผัสตางๆ


                  Epistemology               การศึกษาเรื่องธรรมชาติของความรู และกระบวนการที่จะไดมาซึ่งองค

                  (ญาณวิทยา)                 ความรู


                 Idealism                     แนวคิดที่เชื่อวาความรู ความจริงมีลักษณะเปนนามธรรม มีเพียงหนึ่ง

                 (จิตนิยม)                    เดียว และสามารถเขาถึงไดผานทางจิตเทานั้น


                  Interpretivism             แนวคิดวาความรูเกิดจากการนําเอาประสบการณที่ไดรับมาตีความดวย
                  (นัยนิยม)                  มุมมองของแตละคน ประสบการณเดียวกันอาจนําไปสูความหมายที่

                                             ตางกันในแตละคนได







                   ศูนยความเปนเลิศดานการศึกษาวิทยาศาสตรสุขภาพ (ศศว) คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล      หนา  |  1
   1   2   3   4   5   6   7   8   9