Page 31 - คู่มือนักศึกษา 2567
P. 31
(2) หมวดวิชาเลือก
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
ศรกส ๕๔๑ กระบวนการพัฒนาข้อสอบในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ ๒ (๒-๐-๔)
SIHE 541 Test Development Processes in Health Science Programs
หลักการและขั้นตอนสำหรับการพัฒนาข้อสอบอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐานสำหรับการ
ทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา ความเที่ยงตรง ความเชื่อมั่น การกำหนดเนื้อหาข้อสอบ ลักษณะเฉพาะของ
แบบทดสอบและผังการออกข้อสอบ การพัฒนาข้อสอบ การสร้างแบบทดสอบ การผลิตแบบทดสอบ การจัดสอบ
การสอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์ การคิดคะแนน เกณฑ์การสอบผ่าน การรายงานผลการสอบ การทำคลังข้อสอบ
การทำรายงานการสอบ ประเด็นทางจริยธรรมในการจัดสอบและรายงานผลสอบ
Principles and steps for effective test development, the standards for educational
and psychological testing, validity, reliability, content definition, test specification and
blueprinting, item development, test assembly, test production, test administration,
computerized testing, scoring, passing standards, reporting examination results, item banking, test
report, ethical issues in test administration and reporting of test results
ศรกส ๕๔๒ สถานการณ์จำลองในการสอนและวัดผลในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ ๑ (๐-๓-๑)
SIHE 542 Simulation in Teaching and Assessment in Health Science Programs
แนวคิดพื้นฐานของการใช้สถานการณ์จำลองในการเรียนการสอน การประยุกต์และการจัดการ
เรียนการสอนสถานการณ์จำลองในการศึกษาทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ การออกแบบสถานการณ์จำลองอย่างมี
ประสิทธิภาพ สถานการณ์จำลองในทักษะทางคลินิก สถานการณ์จำลองในทักษะที่ไม่ใช่คลินิก ผู้ป่วยจำลองและ
ผู้ป่วยมาตรฐาน กระบวนการสรุปประเด็นอย่างละเอียดและการให้ข้อมูลย้อนกลับในสถานการณ์จำลองทางคลินิก
การประเมินผลในสถานการณ์จำลองทางคลินิก
Basic concepts in using simulation for education; application and pedagogy of
simulation in health science education; designing effective simulation scenario, simulation in
technical skills, simulation in non-technical skills; simulated and standardized patient; debriefing
and feedback in clinical simulation; assessment in clinical simulation
ศรกส ๕๔๓ วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ๒ (๒-๐-๔)
SIHE 543 Qualitative Research Methods
ปรัชญาพื้นฐานของการวิจัยเชิงคุณภาพ ธรรมชาติของการวิจัยเชิงคุณภาพ ประเด็นทางจริยธรรม
ในการวิจัยเชิงคุณภาพ การออกแบบงานวิจัยเชิงคุณภาพ การสัมภาษณ์บุคคล การสัมภาษณ์กลุ่ม การสังเกตใน
บริบทจริง การวิเคราะห์เอกสาร การบริหารจัดการข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ การรายงานผลของ
งานวิจัยเชิงคุณภาพ
Philosophical foundations of qualitative research; nature of qualitative research;
ethical issues in qualitative research; designs of qualitative research; individual interviews, group
interviews, field observation; document analysis; data management and analysis in qualitative
research; reporting findings from qualitative research
คู่มือนักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ (ภาคพิเศษ) หน้า 28