Page 34 - 2_2023 Journal
P. 34
(2) ปรับปรุงคุณภาพข้อสอบ (4) พัฒนาคุณภาพการสอน
การวิเคราะห์ข้อสอบเป็นโอกาสอันดีที่อาจารย์ ข้อสอบที่สถิติมีปัญหา (p ต่ำ r ต่ำ) ที่ชี้บ่งให้
ผู้ออกข้อสอบจะได้รับ feedback ถึงคุณภาพ อาจารย์ไปทบทวนเนื้อหาข้อสอบว่า เฉลยผิดหรือไม่
ข้อสอบ หากผลวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่าข้อสอบยาก บ่อยครั้งตรวจสอบแล้วพบว่า โจทย์มีความชัดเจน
่
่
เกินไป (p ตำา) หรืออำานาจจำาแนกไม่ดี (r ตำา) อาจ เฉลยถูกต้อง ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ข้อสอบเลย แต่เหตุที่
เกิดจากโจทย์มีความคลุมเครือ อาจารย์สามารถปรับ ผู้สอบทำข้อสอบผิดเยอะเป็นเพราะผู้สอบขาดความรู้
แก้โจทย์ให้มีความชัดเจนขึ้น นอกจากนี้การวิเคราะห์ ความเข้าใจในหัวข้อดังกล่าว อาจารย์สามารถใช้ข้อมูลนี้
การทำางานของตัวลวง อาจพบว่าตัวลวงบางตัว เป็นตัวช่วยชี้แนะว่าหัวข้อการเรียนการสอนใดที่ควร
ไม่ทำางานอย่างเหมาะสม (ไม่มีผู้เลือกเลย หรือค่า มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง เพื่อแก้ปัญหาความเข้าใจผิด
point-biserial เป็นบวก) ก็เป็นข้อมูลที่อาจารย์อาจ ของนักศึกษา ทำให้การสอนมีคุณภาพดีขึ้นได้
ใช้ปรับตัวเลือกของข้อสอบได้
(3) บริหารคลังข้อสอบ ผู้เขียนหวังว่าเนื้อหาเกี่ยวกับการวิเคราะห์
ข้อมูลผลการวิเคราะห์ข้อสอบทำาให้เห็นได้ชัดเจน ข้อสอบปรนัยที่นำาเสนอมาในบทความนี้
ว่าข้อสอบใดเป็นข้อสอบที่ดี มีระดับความยากง่าย จะเป็นประโยชน์ต่ออาจารย์ผู้ดูแลการสอบ
เหมาะสม มีความสามารถในการจำาแนกที่ดี ควรได้รับ MCQ ทุกท่าน ที่จะทำาให้อาจารย์สามารถใช้
การเก็บเข้าคลังข้อสอบเพื่อจะนำามาใช้ใหม่ในอนาคต สถิติเหล่านี้ในการวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นใน
ส่วนข้อสอบที่มีปัญหาก็ควรได้รับการปรับปรุงให้ การสอบปรนัย นำาไปสู่การพัฒนาคุณภาพ
ดีก่อนที่จะนำามาใช้จัดสอบใหม่ การเก็บข้อสอบ การสอบให้ดีขึ้น
เข้าระบบคลังข้อสอบพร้อมด้วยข้อมูลคุณสมบัติ
ของข้อสอบจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่ออาจารย์ หากอาจารย์ลองทำาการวิเคราะห์ข้อสอบ
ที่ทำาการคัดเลือกข้อสอบมาใช้งาน ตามแนวทางที่เสนอในบทความนี้แล้ว
นอกจากนี้การติดตาม item statistics อย่าง ประสบปัญหาใดๆ สามารถติดต่อมาทาง
ต่อเนื่องของข้อสอบ อาจทำาให้อาจารย์วินิจฉัยปัญหา ศูนย์ SHEE เพื่อขอรับคำาปรึกษาได้นะครับ
้
การใช้ข้อสอบซำามากเกินไป (item overexposure)
้
ได้ด้วย ข้อสอบที่ใช้ซำาจนผู้เข้าสอบรู้ข้อสอบข้อดังกล่าว
ล่วงหน้าก่อนทำาข้อสอบ จะมีค่า p สูงขึ้นผิดไปจาก
ค่า p เดิมชัดเจน เป็นการแสดงให้เห็นว่าผู้สอบ
เปลี่ยนพฤติกรรมการทำาข้อสอบข้อดังกล่าวจากเดิม
ที่เป็น problem solving กลายเป็น simple recall
แทน เมื่อพบลักษณะเช่นนี้อาจารย์ควรหยุดพักการใช้
ข้อสอบดังกล่าว
- 31 -